โครงการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสในชุมชนหมู่ที่ 13 ตำบลพนางตุง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสในชุมชนหมู่ที่ 13 ตำบลพนางตุง ”
ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางวีระวรรณ พัดชา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง
พฤษภาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสในชุมชนหมู่ที่ 13 ตำบลพนางตุง
ที่อยู่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3323-2-10 เลขที่ข้อตกลง 18/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสในชุมชนหมู่ที่ 13 ตำบลพนางตุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสในชุมชนหมู่ที่ 13 ตำบลพนางตุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสในชุมชนหมู่ที่ 13 ตำบลพนางตุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3323-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเลปโตสไปโรซีสเป็นโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน พบได้ทั่วโลก แต่พบในเขตเมืองร้อนได้บ่อยกว่า เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชนิด สไปโรขีตขนาดเล็กใน Genus Leptospiraสายพันธุ์ก่อโรค สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ทุกชนิดติดเชื้อได้ แต่อาจมีอาการป่วยหรือไม่ขึ้นอยู่กับชนิดและปริมาณเชื้อที่ได้รับ สัตว์ที่เป็นแหล่งรังโรคมีทั้งสัตว์ป่า เช่น กระรอก กวาง สุนัขจิ้งจอก เป็นต้น และสัตว์เลี้ยงต่างๆ เช่น สุกร หนู สุนัข โค กระบือ แมว เป็นต้น การติดเชื้อในปศุสัตว์ และสัตว์เลี้ยงอื่นๆ อาจทำให้เกิดการแท้ง การตายแรกคลอด หรือผลผลิตลดลง เช่น น้ำนม ทำให้เกิดผลเสียทางเศรษฐกิจ เชื้อก่อโรคติดต่อมาสู่คนได้โดยตรง จากการสัมผัสกับอวัยวะที่ติดเชื้อของสัตว์ที่ป่วยหรือเป็นแหล่งรังโรค หรือติดต่อ ทางอ้อมโดยเชื้อก่อโรคไชเข้าทางผิวหนังที่มีรอยแผลหรือเยื่อบุ เมื่อคนไปสัมผัสกับน้ำหรือดินที่ปนเปื้อนเชื้อจากปัสสาวะ ของสัตว์พาหะ โดยคนที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ ได้แก่ เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ชาวนา ชาวไร่ คนงานโรงงานฆ่าสัตว์ กรรมกร ขุดลอกคูคลอง สัตว์แพทย์ เป็นต้น นักท่องเที่ยวหรือผู้ที่เดินลุยน้ำ ว่ายน้ำและล่าสัตว์ก็มีโอกาสสัมผัสโรคนี้ได้
สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรซีส ในจังหวัดพัทลุง จากรายงาน 506 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง (1 มกราคม 2562 – 28 พฤษภาคม 2562) พบว่า มีจำนวนผู้ป่วย 3 ราย อัตราป่วย 0.6 ต่อแสนประชากร จากการวิเคราะห์สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรซีสของตำบลพนางตุง 5 ปีย้อนหลัง (๒๕๕8-๒๕62) พบว่า มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ ดังนี้ 0.00, 0.00, 29.9, 29.9, 0.00 มีอัตราเสียชีวิตในปี (๒๕๕7-๒๕61) 0.00 ต่อแสนประชากร
เพื่อเป็นการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสในชุมชนและลดอัตราป่วยและอัตราตายจากโรคเลปโตสไปโรซีสอาสาสมัครสาธารณสุข จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสในชุมชนหมู่ที่ 13 ตำบลพนางตุง
อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุงขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราป่วยตายจากโรคเลปโตสไปโรซีส
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
อัตราป่วยตายด้วยโรคเลปโตสไปโรซีสลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดอัตราป่วยตายจากโรคเลปโตสไปโรซีส
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยตายด้วยโรคเลปโตสไปโรซีสลดลงไม่เกินค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง 1.45
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยตายจากโรคเลปโตสไปโรซีส
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสในชุมชนหมู่ที่ 13 ตำบลพนางตุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3323-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวีระวรรณ พัดชา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสในชุมชนหมู่ที่ 13 ตำบลพนางตุง ”
ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางวีระวรรณ พัดชา
พฤษภาคม 2563
ที่อยู่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3323-2-10 เลขที่ข้อตกลง 18/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสในชุมชนหมู่ที่ 13 ตำบลพนางตุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสในชุมชนหมู่ที่ 13 ตำบลพนางตุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสในชุมชนหมู่ที่ 13 ตำบลพนางตุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3323-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเลปโตสไปโรซีสเป็นโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน พบได้ทั่วโลก แต่พบในเขตเมืองร้อนได้บ่อยกว่า เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชนิด สไปโรขีตขนาดเล็กใน Genus Leptospiraสายพันธุ์ก่อโรค สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ทุกชนิดติดเชื้อได้ แต่อาจมีอาการป่วยหรือไม่ขึ้นอยู่กับชนิดและปริมาณเชื้อที่ได้รับ สัตว์ที่เป็นแหล่งรังโรคมีทั้งสัตว์ป่า เช่น กระรอก กวาง สุนัขจิ้งจอก เป็นต้น และสัตว์เลี้ยงต่างๆ เช่น สุกร หนู สุนัข โค กระบือ แมว เป็นต้น การติดเชื้อในปศุสัตว์ และสัตว์เลี้ยงอื่นๆ อาจทำให้เกิดการแท้ง การตายแรกคลอด หรือผลผลิตลดลง เช่น น้ำนม ทำให้เกิดผลเสียทางเศรษฐกิจ เชื้อก่อโรคติดต่อมาสู่คนได้โดยตรง จากการสัมผัสกับอวัยวะที่ติดเชื้อของสัตว์ที่ป่วยหรือเป็นแหล่งรังโรค หรือติดต่อ ทางอ้อมโดยเชื้อก่อโรคไชเข้าทางผิวหนังที่มีรอยแผลหรือเยื่อบุ เมื่อคนไปสัมผัสกับน้ำหรือดินที่ปนเปื้อนเชื้อจากปัสสาวะ ของสัตว์พาหะ โดยคนที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ ได้แก่ เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ชาวนา ชาวไร่ คนงานโรงงานฆ่าสัตว์ กรรมกร ขุดลอกคูคลอง สัตว์แพทย์ เป็นต้น นักท่องเที่ยวหรือผู้ที่เดินลุยน้ำ ว่ายน้ำและล่าสัตว์ก็มีโอกาสสัมผัสโรคนี้ได้ สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรซีส ในจังหวัดพัทลุง จากรายงาน 506 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง (1 มกราคม 2562 – 28 พฤษภาคม 2562) พบว่า มีจำนวนผู้ป่วย 3 ราย อัตราป่วย 0.6 ต่อแสนประชากร จากการวิเคราะห์สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรซีสของตำบลพนางตุง 5 ปีย้อนหลัง (๒๕๕8-๒๕62) พบว่า มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ ดังนี้ 0.00, 0.00, 29.9, 29.9, 0.00 มีอัตราเสียชีวิตในปี (๒๕๕7-๒๕61) 0.00 ต่อแสนประชากร เพื่อเป็นการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสในชุมชนและลดอัตราป่วยและอัตราตายจากโรคเลปโตสไปโรซีสอาสาสมัครสาธารณสุข จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสในชุมชนหมู่ที่ 13 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุงขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราป่วยตายจากโรคเลปโตสไปโรซีส
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
อัตราป่วยตายด้วยโรคเลปโตสไปโรซีสลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดอัตราป่วยตายจากโรคเลปโตสไปโรซีส ตัวชี้วัด : อัตราป่วยตายด้วยโรคเลปโตสไปโรซีสลดลงไม่เกินค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง 1.45 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยตายจากโรคเลปโตสไปโรซีส
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสในชุมชนหมู่ที่ 13 ตำบลพนางตุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3323-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวีระวรรณ พัดชา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......