กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ ยิ้มใส ฟันสวย ด้วยทันตกรรมสุขภาพ ”
รพ.สต.บ้านลำปลอก ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสาววิภาดา เกื้อสา ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุข




ชื่อโครงการ โครงการ ยิ้มใส ฟันสวย ด้วยทันตกรรมสุขภาพ

ที่อยู่ รพ.สต.บ้านลำปลอก ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1485-1-03 เลขที่ข้อตกลง 1/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 26 กุมภาพันธ์ 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ยิ้มใส ฟันสวย ด้วยทันตกรรมสุขภาพ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.บ้านลำปลอก ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ยิ้มใส ฟันสวย ด้วยทันตกรรมสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ยิ้มใส ฟันสวย ด้วยทันตกรรมสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.บ้านลำปลอก ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1485-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กุมภาพันธ์ 2563 - 26 กุมภาพันธ์ 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกายการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดี มีผลต่อการมีสุขภาพกายที่ดีด้วย แต่ปัญหาสุขภาพช่องปากนั้น ไม่ได้มีสาเหตุเกิดจากภายในช่องปากเพียงอย่างเดียว แต่มีตัวปัญหาซึ่งเกิด จากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันด้วย ยกตัวอย่างเช่น โรคฟันผุซึ่งเป็นปัญหาในช่องปากที่พบได้ทั่วไป ก็มีปัจจัยร่วมหลายๆ อย่างที่ส่งเสริมให้เกิดโรคนอกเหนือไปจากเชื้อโรคในช่องปาก เช่นอาจมาจากตัวบุคคลเองที่ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสุขภาพช่องปากและการทำความสะอาดช่องปากของตนเอง การอยู่ในครอบครัวที่ขาดการดูแลเอาใจใส่ หรือสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวที่ไม่เอื้อต่อการใส่ใจสุขภาพช่องปาก นอกจากนี้สื่อโฆษณาเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มก็มีอิทธิพลอย่างมากในสังคมปัจจุบัน สภาพเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมต่างๆ ล้วนมีส่วนที่ทำให้เกิดโรคได้เช่นกัน ดังนั้นหากเราวางรากฐานเรื่องสุขภาพและสุขภาพช่องปากแก่เด็กก่อนวัยเรียนและผู้ปกครอง พร้อมกับการสอดแทรกความรู้เรื่องการแปรงฟันที่ถูวิธีในรูปแบบที่เหมาะสมกับเด็กๆนั้น เพื่อให้เด็กและผู้ปกครองได้ตระหนักเห็นว่า เรื่องของสุขภาพช่องปากนั้นเป็นเรื่องที่ทุกคนในครอบครัวต้องมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบ แล้วปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อปลูกฝังให้เด็กมีสุขภาพที่ดีอีกด้วย

ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำปลอก จึงได้ทำโครงการ ยิ้มใส ฟันสวย ด้วยทันตกรรมสุขภาพ เพื่อที่จะกระตุ้นความสนใจของเด็กและให้ผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีมากยิ่งขึ้น โดยจัดกิจกรรมเน้นการมีส่วนร่วมและสอดแทรกไปกับความรู้ต่างๆ เพื่อให้เด็กได้รู้สึกว่าเรื่องต่างๆเหล่านี้ไม่ได้ไกลตัวและยากอย่างที่คิด และเพื่อให้เด็กที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปเผยแพร่ยังกลุ่มเพื่อนตลอดจนผู้ใกล้ชิดต่อไปได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เด็กนักเรียนมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง
  2. 2. เด็กในวัยเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีและมีฟันที่สวยงามตามวัย
  3. 3. ปัญหาการเกิดโรคในช่องปาก เช่น โรคฟันผุ และเหงือกอักเสบลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้กับเด็กนักเรียน เกี่ยวกับการดุแลสุขภาพช่องปากฝึกปฏิบัติให้นักเรียน สามารถแปรงฟันได้ อย่างถูกวิธี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กนักเรียน มีความรู้ความเข้าใจ สามารถดูแลสุขภาพช่องปาก ของบตัวเองได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
    1. เด็กนักเรียน ได้รับบริการทันตกรรมป้องกันและการแก้ปัญหาในช่องปากได้ดีสมตามวัย
    2. เด็กนักเรียนสามารถทำแบบทดสอบความรู้ได้มากกว่าร้อยละ 90

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เด็กนักเรียนมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เด็กในวัยเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีและมีฟันที่สวยงามตามวัย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. ปัญหาการเกิดโรคในช่องปาก เช่น โรคฟันผุ และเหงือกอักเสบลดลง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เด็กนักเรียนมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง (2) 2. เด็กในวัยเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีและมีฟันที่สวยงามตามวัย (3) 3. ปัญหาการเกิดโรคในช่องปาก เช่น โรคฟันผุ และเหงือกอักเสบลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้กับเด็กนักเรียน เกี่ยวกับการดุแลสุขภาพช่องปากฝึกปฏิบัติให้นักเรียน สามารถแปรงฟันได้ อย่างถูกวิธี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ยิ้มใส ฟันสวย ด้วยทันตกรรมสุขภาพ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1485-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววิภาดา เกื้อสา ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด