กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ


“ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังชุมชนบ้านหน้าเมือง ”

อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางบุญธรรม เอียดประดิษฐ์

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังชุมชนบ้านหน้าเมือง

ที่อยู่ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7499-2-04 เลขที่ข้อตกลง 7/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังชุมชนบ้านหน้าเมือง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังชุมชนบ้านหน้าเมือง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังชุมชนบ้านหน้าเมือง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7499-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 31 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,920.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพปัจจุบันปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขส่วนใหญ่มีสาเหตุจากประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชนซึ่งได้จากสถานการณ์ของปัญหาสาธารณสุขที่เป็นอยู่ในปัจจุบันที่พบว่ากลุ่มโรค Metabolic โดยเฉพาะโรคอ้วนลงพุง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน กำลังเป็นปัญหาสำคัญในทุกพื้นที่ อีกทั้งยังมีแนวโน้มเป็นปัญหาต่อเนื่องในอนาคต ปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหากลุ่มโรค Metabolic ได้แก่ การสูบบุหรี่ การดื่มที่มีเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง การับประทานผักและผลไม้ไม่เพียงพอ ตลอดจนสภาพปัญหาทางจิตใจ อารมณ์ และความเครียดการเสริมสร้างให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ดีสามารถจัดการลดความเสี่ยงของตนเองได้จะเป็นกลไกพื้นฐานที่สำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคโดยเฉพาะกลุ่มที่มีความเสี่ยง ซึ่งการสร้างความรู้ ความเข้าใจเพียงอย่างเดียวอาจไม่มีผลเพียงพอที่จะทำให้เกิดความตระหนักในการเปลี่ยนแปลงสุขภาพได้ การจัดกิจกรรมฝึกทักษะและการเสริมสร้างพลังแก่กลุ่มเป้าหมายจึงจำเป็นต้องควบคู่กับการให้ความรู้ ความเข้าใจนำไปสู่การปฏิบัติ นอกจากนี้การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมทั้งในครอบครัว และชุมชนก็จะส่งผลให้ประชาชนตระหนักและมีพฤติกรรมที่ดีได้ดังนั้นจึงสมควรอย่างยิ่งที่จะเร่งการทำงานเชิงรุกในชุมชนเพื่อตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในกลุ่มผู้ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปและให้การวินิจฉัยโรคในระยะเริ่มต้น รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ ซึ่งแนวโน้มการเกิดโรคเรื้อรังมีอัตราการเกิดโรคเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งโรคดังกล่าวสามารถป้องกันและหลีกเลี่ยงได้ หากได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง จึงมีแนวทางการดำเนินงานโดยเน้นวิธีการเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ดังนั้น เพื่อเป็นการขับเคลื่อนสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยลดภัยโรงเรื้อรัง ในการลดปัญหาโรคเรื้อรังหรือโรควิถีชีวิต การคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีเป้าหมายสำคัญคือ ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และรับการรักษาได้เร็วและถูกต้อง สร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการทำงานเชิงรุก ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนบ้านหน้าเมือง จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังชุมชนบ้านหน้าเมือง ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจกลุ่มเป้าหมายและจัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไปในชุมชน
  2. จัดอบรม อสม.ในการสำรวจกลุ่มเป้าหมายและวิธีการตรวจคัดกรองเบื่องต้น
  3. จัดหาวัสดุและเครื่องวัดความดันโลหิตสูง
  4. รณรงค์ตรวจคัดกรองเบาหวานและวัดความดันโลหิต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน /ความดันดลหิตสูง และสามารถรับรู้สถานะสุขภาพของตนเองว่ามีระดับความเสี่ยงต่อเบาหวานและความดันดลหิตสูงเพียงใด 2.กลุ่มสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงทุกรายได้รับการเฝ้าระวัง และการส่งเสริมสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม สามารถป้องกันเบาหวาน/ความดันดลหิตสูงได้ในระยะยาวต่อไป 3.มีข้อมูลสถานะสุขภาพที่ถูกต้อง มีการจัดเก็บ วิเคราะห์ สามารถนำไปวางแผนงานสาธารณสุขเพื่อป้องกันและควบคุมเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่เหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดหาวัสดุและเครื่องวัดความดันโลหิตสูง

วันที่ 6 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดหาเครื่องวัดความดัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเครื่องวัดความดันเพื่อให้ อสม. ใช้ในการปฏิบัติงาน 3 เครื่อง

 

0 0

2. จัดอบรม อสม.ในการสำรวจกลุ่มเป้าหมายและวิธีการตรวจคัดกรองเบื่องต้น

วันที่ 7 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง  การใช้และดูแลรักษาเครื่องวัดความดัน  ฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องวัดความดัน และการเจาะเบาหวาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม.มีความรู้ เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง  การใช้และดูแลรักษาเครื่องวัดความดัน

 

8 0

3. รณรงค์ตรวจคัดกรองเบาหวานและวัดความดันโลหิต

วันที่ 12 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์ตรวจคัดกรองเบาหวานและวัดความดันโลหิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตรวจคัดกรอง เยี่ยมบ้านประชาชน และวัดความดันให้แก่ประชาชน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านชุมชนบ้านหน้าเมือง ได้จัดกิจกรรมโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง เพื่อเป็นการขับเคลื่อนสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยลดภัยโรคเรื้อรัง ในการลดปัญหาโรคเรื้อรังหรือโรควิถีชีวิต การคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงให้แก่ประชาชนในชุมชน โดยจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การใช้และดูแลรักษาเครื่องวัดความดัน ฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องวัดความดัน และการเจาะเบาหวาน และลงพื้นที่เพื่อตรวจวัดความดันและเจาะเบาหวานให้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลงร้อยละ 5
0.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลงร้อยละ 5
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจกลุ่มเป้าหมายและจัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไปในชุมชน (2) จัดอบรม อสม.ในการสำรวจกลุ่มเป้าหมายและวิธีการตรวจคัดกรองเบื่องต้น (3) จัดหาวัสดุและเครื่องวัดความดันโลหิตสูง (4) รณรงค์ตรวจคัดกรองเบาหวานและวัดความดันโลหิต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังชุมชนบ้านหน้าเมือง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7499-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางบุญธรรม เอียดประดิษฐ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด