กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน/ผอม)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 นักเรียน คณะครูและผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน/ผอม)
17.00 12.00 15.00

 

2 เพื่อให้คณะครู และนักเรียนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์และป้องกันโรคอ้วนในวัยเด็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 นักเรียน คณะครูมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์และป้องกันโรคอ้วนในวัยเด็ก
17.00 17.00 17.00

 

3 เพื่อลดจำนวนเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการดีขึ้น
17.00 6.00 8.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 17 17
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 17 17
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน/ผอม) (2) เพื่อให้คณะครู และนักเรียนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์และป้องกันโรคอ้วนในวัยเด็ก (3) เพื่อลดจำนวนเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กนักเรียนทุกคนในโรงเรียนชุมขนบ้านต้นสน (2) เชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญทางด้านโภชนาการมาให้ความรู้กับนักเรียน คณะครู ในเรื่องแนวทางการป้องกันและแก้ไขภาวะทุพโภชนาการ (3) ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการอาหารในโรงเรียน (4) จ่ายยาเสริมธาตุเหล็กเด็กนักเรียนทุกคนในโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่1. ส่งเสริม ความรู้ให้พ่อแม่และผู้ดูแลเด็กในการเลี้ยงดูและเกี่ยวกับโภชนาการอาหารที่เหมาะสมตามวัย 2. ในระดับชุมชนควรมีการส่งเสริมและสร้างความร่วมมือในการดูแลส่งเสริมและสร้างความร่วมมือในการดูแลสุขภาพด้านโภชนาการเด็ก

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh