กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นายสมศักดิ์ ปุรินทราภิบาล




ชื่อโครงการ โครงการใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุปีงบประมาณ ๒๕๖๓

ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3357-02-0003 เลขที่ข้อตกลง .............../2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุปีงบประมาณ ๒๕๖๓ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุปีงบประมาณ ๒๕๖๓



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุปีงบประมาณ ๒๕๖๓ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3357-02-0003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 31 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,975.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 625 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันผู้สูงอายุของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร เพิ่มขึ้นในอัตราที่รวดเร็วส่งผลเข้าสู่ภาวะประชากรผู้สูงอายุอันจะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพและเกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมทั้งต่อตัวผู้สูงอายุ ครอบครัว สาเหตุหลักที่ทำให้ผู้สูงอายุตกอยู่ในสภาพต้องพึ่งพิง ก่อนวัยอันสมควร คือ โรคไม่ติดต่อ เช่น โรคหัวโจ โรคความดันเลือด มะเร็งเบาหวาน สมองเสื่อม โรคกระดูกและไขข้อโรคซึมเศร้าและจากการดูแลการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันไม่ถุูกต้องทำให้เกิดปัญหาสุขภาพมีภาวะข้อติดช่วยเหลือตนเองไม่ได้จากสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ทำให้ผู้สูงอายุมีภาวะพึ่งพิงเพิ่มขึ้น จากการออกคัดกรองในปี ๒๕๖๑ ผู้สูงอายุติดบ้านจำนวน ๑๘ คน ติดเตียงจำนวน ๔ คน และในปี พ.ศ.๒๕๖๒ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว กลุ่มติดบ้านจำนวน ๓๓ คน กลุ่มติดเตียง ๙ คน
ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านต้นไทร ตำบลนาโหนด อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง จึงได้จัดโครงการใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุปีงบประมาณ ๒๕๖๓ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีสร้างสรรค์กิจกรรมที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาพสร้างสุขภาพให้กับตนเองสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ถูกต้อง และเข้ากลุ่มเพื่อนสมาชิกในสังคมอย่างมีศักดิ์ศรีของความเป็นผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันในวัยผู้สูงอายุได้ถูกต้อง
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเห็นความสำคัญรับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพ
  3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุพบมีภาวะเสี่ยงได้รับการดูแลและส่งต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมผู้ดูแลและผู้สูงอายุ จำนวน 625 คน โดยแบ่งเป็นหมู่บ้าน ท้ังหมด 7 หมู่บ้าน อบรมให้ความรู้เรื่อง “การดูแลสุขภาพตนเองในวัยผู้สูงอายุ”

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 625
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้สูงอายุ อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป จำนวน 625 คนมี ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการ ดูแล สุขภาพในวัยผู้สูงอายุได้ถูกต้อง ๒. ผู้สูงอายุ อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป จำนวน625คน ได้รับการตรวจสุขภาพประเมินกิจวัตรประจำวัน อย่างน้อยร้อยละ 80 จำนวน 480 คน
๓. ผู้สูงอายุ อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป ที่พบเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยน การดูแลและการส่งต่ออย่างถูกต้องตามระบบทุกคน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันในวัยผู้สูงอายุได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุจำนวน 625 คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันในวัยผู้สูงอายุได้
2.00 80.00 88.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเห็นความสำคัญรับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุจำนวน 625 คน ได้รับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพ
2.00 80.00 88.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุพบมีภาวะเสี่ยงได้รับการดูแลและส่งต่อ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุที่ตรวจประเมินสุขภาพพบเสี่ยงได้รับการดูแลและได้รับการส่งต่อ
2.00 80.00 88.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 625 549
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 625 549
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันในวัยผู้สูงอายุได้ถูกต้อง (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเห็นความสำคัญรับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพ (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุพบมีภาวะเสี่ยงได้รับการดูแลและส่งต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมผู้ดูแลและผู้สูงอายุ จำนวน 625 คน โดยแบ่งเป็นหมู่บ้าน ท้ังหมด 7 หมู่บ้าน อบรมให้ความรู้เรื่อง “การดูแลสุขภาพตนเองในวัยผู้สูงอายุ”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุปีงบประมาณ ๒๕๖๓ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3357-02-0003

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมศักดิ์ ปุรินทราภิบาล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด