กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์


“ โครงการสานสัมพันธ์ สู่อ้อมกอด ด้วยนมแม่ ”

ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอารียา เส็มสา

ชื่อโครงการ โครงการสานสัมพันธ์ สู่อ้อมกอด ด้วยนมแม่

ที่อยู่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสานสัมพันธ์ สู่อ้อมกอด ด้วยนมแม่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสานสัมพันธ์ สู่อ้อมกอด ด้วยนมแม่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสานสัมพันธ์ สู่อ้อมกอด ด้วยนมแม่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดเกิดความรู้ความเข้าใจเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
  2. เพื่อส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจในการกระตุ้นหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในชุมชนให้เกิดความตระหนักเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
  3. เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในข้อดีของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  2. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องประโยชน์ของนมแม่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดมีความรู้และตระหนักเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 2 หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในชุมชนให้ความสำคัญในเรื่องการเลี้ยงลุกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน 3 ผู้เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 30 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้เรื่องประโยชน์ของนมแม่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาสัมพันธ์โครงการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องประโยชน์ของนมแม่

 

50 0

2. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องประโยชน์ของนมแม่

วันที่ 23 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้เรื่องประโยชน์ของนมแม่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ในระดับปานกลางก่อนเข้าร่วมอบรม ร้อยละ 52.8 ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้มากขึ้นหลังเข้าร่วมอบรม ร้อยละ 92.5

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดเกิดความรู้ความเข้าใจเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดเกิดความรู้ความเข้าใจเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
0.00 92.50

 

2 เพื่อส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจในการกระตุ้นหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในชุมชนให้เกิดความตระหนักเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในชุมชนให้เกิดความตระหนักเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในข้อดีของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดแลกเปลี่ยนความรู้และปัญหาในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และนำไปปรับใช้ในการเลี้ยงลูกเพิ่มขึ้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดเกิดความรู้ความเข้าใจเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (2) เพื่อส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจในการกระตุ้นหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในชุมชนให้เกิดความตระหนักเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน (3) เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในข้อดีของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์โครงการ (2) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องประโยชน์ของนมแม่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการสานสัมพันธ์ สู่อ้อมกอด ด้วยนมแม่

ระยะเวลาโครงการ 16 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

-ด้านกายภาพ
เกิดองค์ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของการดื่มนมแม่ ที่ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค มีสารอาหารและส่งเสริมสติปัญญาให้แก่บุตร -ด้านจิตใจ เกิดองค์ความรู้ในการสร้างความอบอุ่น ความสัมพันธ์ระหว่างแม่ที่มีต่อบุตร -ด้านสังคม แม่รู้จักวิธีการจัดการการเข้าสังคมเพื่อภาวะโรคซึมเศร้าหลังคลอด -ด้านสติปัญญา มีองค์ความรู้ในการใช้จิตวิญญาณการสร้างความรักต่อลูก

แบบสอบถามความรู้

รูปแบบการให้องค์ความรู้ใหม่ๆ เช่น ทางโซเชียลมีเดีย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

โมเดลนมแม่เทียม

โมเดล

ควรมีการพัฒนาให้เกิดเสียงบรรรยาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

กระบวนการที่เกิดกับบุคคล/กลุ่มคน   -เกิดกระบวนการรวมกลุ่ม เป็นการรวมกลุ่มเพื่อปรึกษา/เเลกเปลี่ยนระหว่างแม่   -เกิดกระบวนการในชุมชน เกิดกระบวนการขับเคลื่อนการดำเนินงานในชุมชน เช่น การเยี่ยมบ้าน

รูปถ่าย , กลุ่มไลน์

ควรพัฒนากระบวนการให้เกิดการเรียนรู้ระหว่างชุมชนอื่น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

เกิดการทำงานแบบครอบคลุมทุกมิติ ทั้งทั้งกาย จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ โดยมีการดำเนินการดังนี้ 1. การสำรวจหญิงหลังคลอด 2.การอบรมให้ความรู้แม่และพ่อมือใหม่ 3.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างแม่ในตำบลท่าโพธิ์ 4.ลงติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อให้กำลังใจ และดูพฤติกรรมการดูแลของแม่แก่บุตร

-ข้อมูลการบันทึกในสมุดสีชมพู -รูปภาพการเยี่ยมบ้าน

ควรจัดให้มีการทำงานแบบต่อเนื่องและยั่งยืน โดยให้ผู้นำชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิดชมรม ชมรมนมแม่ตำบลท่าโพธิ์

มีชมรม

ควรจัดให้มีชมรมนมแม่ประจำหมู่บ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

1.แม่คำนึงถึงการรักษาสุขภาพของตนเองให้ดี เพื่อให้สามารถให้นมบุตรได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม เช่น การพักผ่อนเพียงพอ 2.การให้นมบุตร 6 เดือน

รูปภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

1.แม่ปรับเปลี่ยนการรับประทานอาหารที่ถูกหลักอนามัย การลดของแสลง เช่น ไม่กินหอย เป็นเวลา 7 เดือน 2.การบริโภคอาหารที่ช่วยบำรุงน้ำนม เช่น ตำลึง ปลีกล้วย

เมนูอาหาร รูปภาพ

การปรับพฤติกรรมการกินแบบโบราณควบคู่กับแนวทางการดูแลแพทย์แผนปัจจุบัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

1.การออกกำลังกายแบบเหมาะสมกับแม่หลังคลอด เช่น การเดิน การเคลื่อนไหวแขน โดยให้ระวังประเภทการออกกำลังที่ที่ใช้แรงเยอะ เช่น การกระโดด

รูปภาพ

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

1.การขอความร่วมมือสามีหญิงหลังคลอด ในการลดพฤติกรรมการสูบบุหรี่ เพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อบุตร 2.แม่ (หญิงหลังคลอด) เลิกการกินเหล้า และอบายมุขต่างๆ

หนังสือข้อตกลง/ขอความร่วมมือ

ควรตั้งกฎ กติกา ในการงดเว้นการสูบบุหรี่ในบ้านแบบมีลายลักษณ์อักษร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

1.การงดการมีเพศสัมพันธ์ เพื่อป้องกันการเกิดการติดเชื้อ 2.หญิงหลังคลอดงดการขับขี่จักรยาน เพื่อป้องกันการสะเทือนระบบภายใน

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

มีการประเมินความเครียดหลังคลอดเกี่ยวกับครอบครัว การดูแลบุตรหลาน และเรื่องอื่นๆอย่างต่อเนื่องที่บ้าน

แบบประเมิน 2Q

ควรจัดให้มีระบบการปรึกษาออนไลน์ 24 ชม.

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

1.การนำน้ำสมุนไพรช่วยเร่งน้ำนม เช่น น้ำอินทผาลัม 2.การใช้ลูกประคบเพื่อบรรเทาอาการคัดเต้า 3.การใช้หมอพื้นบ้านในการบีบนวดเพื่อเร่งในการไหลของน้ำนม

-รูปภาพสมุนไพร

ควรนำแนวทางการใช้สมุนไพรและวิธีพื้นบ้านมาเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละครอบครัว หรือนำแนวทางมาเผยแพร่ให้กับคนอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การจัดการตนเองเมื่อเจ็บป่วย 1.หาสาเหตุการเจ็บป่วย 2.กินยาบรรเทาด้วยตนเอง อาจใช้สมุนไพรร่วมด้วย 3.ถ้าอาการไม่ดีขึ้น พบแพทย์ทันที

การปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิตประจำวันเพื่อควบคุมโรคตนเอง ดังนี้ 1.การดูแลตนเองให้มีสุขภาพที่ดี เช่น การรักษาความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อมในบ้าน 2.การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชนื โดยนำสมุนไพรมาใช้ร่วมด้วย

รูปถ่าย

ควรจัดให้มีแนวทางการจัดการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเป็นลายลักษณ์อักษรของแต่ละครอบครัว

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

การจัดการขยะในชุมชน ได้แก่ การคัดเเยกขยะ ลดการเผาขยะในชุมชน

การใช้สารเคมีทางเกษตร ได้แก่ การรณรงค์การงดใช้สารเคมี เช่น ยาฆ่าหญ้า ฆ่าแมลง โดยการหันมาใช้สมุนไพรแทน เช่น น้ำหมักสะเดา ยาเส้น ตระไค้หอม เป็นต้น

การสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลัษณะ เช่น การจัดอุปกรณ์ให้เป้นระเบียบ การจัดให้มีแสงสว่างในบ้านอย่างเพียงพอไม่มืดอับ อากาสถ่ายเทสะดวก

รูปถ่าย

ควรจัดให้มีแผนชุมชนในการพัฒนาการจัดการขยะในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพสิน ได้แก่ การระมัดระวังในดรื่องของการขับขี่จักรยาน ส่งผลทำให้ลดการเกิดอุบัติเหตุ

การจัดสภาพแวดล้อมทางสัมคมที่เอื้อต่อเด็กและ เยาวชน ได้แก่ มีการจัดการสภาพแวดล้อมภายในครัวเรือนให้เป็นระเบียบเพื่อเอื้อให้เด็กมีความปลอดภัยในชีวิตและมีสุขภาพที่ดี

การใช้ศาสนาเป็นฐานการพัฒนาด้านสุขภาพ ได้แก่ การใช้การขอดุอาร์ การละหมาด มาใช้ในการสอนเรื่องการดุแลบุตร และการนำหลักศีล5 ของศาสนาพุทธมาแนะนำให้กับแม่ในการดำเนินชีวิต

ด้านวัฒนธรรม เช่น การขึ้นเปลลูก การโกนผมไฟ เพื่อช่วยกำจัดสิ่งสกปรกและทำความสะอาดร่างกายของเด็ก

รูปถาย (ในการทำพิธีกรรม)

ควรมีการสอบทอดวัฒนธรรมแก่ชุมชนอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

-การนำเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดรายได้ เช่น การผลิตสมุนไพรเร่งน้ำนม

ผลิตภัณฑ์

ควรนำผลิตภัณฑ์มาต่อยอดเพื่อพัฒนาให้เกิดการยอมรับ เช่น การขอ อย.

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

1.การให้บริการ (การแนะนำ/ให้ความรู้)ที่บ้านโดยทีม อสม.และ อสค ประจำบ้าน 2.เข้าถึงบริการสุขภาพทางโซเชียลมีเดีย เช่น ไลน์กลุ่ม เฟส เพจชมรม

ไลน์ เพจ การบันทึกการเยี่ยบ้านของ อสมและ อสค

ควรมีช่องทางการให้บริการที่สะดวกและรวดเร็วในการให้คำปรึกษา เช่น แอปปลิเคชั่นสุขภาพออนไลน์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

ไม่มี

 

ควรมีการจัดตั้งกฎ กติกาให้เกิดขึ้นภายในชุมชน เช่น กฎให้หยิงหลังคลอดต้องเลี้ยงด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

ไม่มี

 

ชุมชนควรจัดให้เกิดมาตรการทางสังคม ด้านการดูแลบุตรให้เกิดประสิทธิภาพ โดยมาตรการดังกล่าว ควรมาจากคนใชุมชนร่วมกันคิด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

ไม่มี

 

จัดให้มีธรรมนูนสุขภาพด้านการเลี้ยงบุตรให้มีลายลักษณ์อักษร เพื่อใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติร่วมกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

มีการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนตำบล

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการเชื่อยมโยงการทำงานเป็นภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ และชุมชน เช่น รพ.สต รพ. อสม.กลุ่มองค์กรชุมชน กลุ่มผู้นำชุมชน กลุ่มแม่บ้าน เป้นต้น

การใช้ทุนชุมชน เช่น งบประมาณจากกลุ่มออมทรัพย์ในชุมชน กลุ่มชมรมต่าง ๆ
และมีการใช้ทรัพยกรด้าบบุคคลในชุมชน เช่น ใช้ปราชญ์ชุมชน ให้ความรู้ด้านการดูแลบุตร และการไหลของน้ำนม การขับเคลื่อน : มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เช่น การเยี่ยมบ้านของทีม อสส อสม.ร่วมกับ รพสต

รูปภาพในการประชุม

จัดให้มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องโดยการขยายการดำเนินงานไปยังตำบอื่นๆ หรือจัดให้มีตำบลตัวอย่างด้านการดูแลบุตรหลาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

ประชาชนในชุมชน (หญิงหลังคลอด หญิงตั้งครรภื รวมถึงสามี) รวมถึงหน่วยงานของรัฐและองค์กรชมชน ร่วมกันจัดการปัญหา ดังนี้ 1.การหาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นกับมารดาและบุตร 2.การวางแผนการดำเนินงานทั้งระยะสั้นและระยะยาว 3.การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบหรือการหาแกนนำในการพัฒนางานแต่ละงานหรือแต่ละเขตรับผิดชอบ 4.การดำเนินงานตามแผนการปฏิบัตร่วมกัน เช่น การลงสำรวจกลุ่มเสี่ยง การลงเยี่ยมบ้าน การประเมินความเครียด และการลวติดตามการดูแลบุตร เป็นต้น 5.มีการประเมินผลการดำเนินงา่น เช่น ประเมินความพึงพอใจของมาดรา การประเมินผลการดูแลสุขภาพของตนเองและบุตร การประเมินภาวะความเครียดหลังคลอดบุตร

รูปแผนการดำเนินโครงการ , รูปถ่าย,แบบประเมิน

ควรจัดทำแผนแบบบูรณาการร่วมกับการดูแลสุขภาพด้านอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

ใช้ทรัพยากรด้านบุคล่กรในชุมชน ได้แก่ ปราช์ญชุมชน มาให้คำแนะนำการดุแลบุตรหลาน

รูปถ่าย

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ได้แก่
1.การขับเคลื่อนการเยี่ยมของทีม อสส อสม ร่วมกับ เจ้าหน้าที่ 2.การขับเคลื่อนของดำเนินงานของชมรม นมแม่ประจำตำบลท่าโพธิ์

รูปถ่าย แผนการลงเยี่ยมบ้าน

ควรจัดให้มีรูปแบบการขับเคลื่อนร่วมกับ พชอ หรือ พชต จะได้มีความยั่งยืน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

เกิดกระบวนการเรียนรู้แก่แม่มือใหม่ในชุมชน เกี่ยวกับ วิธีการดูแลตนเองและบุตรผ่านเวทีเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ของทีมชมรมนมแม่ตำบลท่าโพธิ์

รูปภาพ

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

เกิดทักษะการเขียนแผนงานของโครงการให้สอดคล้องกับปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน สามารถวิเคราะห์ข้อมูลที่มีอยู่มาปรับใช้ในการแก้ไขปัญหาและนำมาเสนอให้แก่ชุมชนได้ทราบ ตลอดจนสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานให้เกิดประสิทธิภาพ

แผนโครงการ

ควรจัดให้มีการอบรมการเขียน การวิเคราะห์ข้อมูลแบบเข้มข้นเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

1.ภูมิใจที่มีส่วนช่วยให้หญิงหลังคลอดสามารถดูแลตนเองได้ 2.ภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งในทีมขับเคลื่อนการดำเนินงาน 3.ภูมิใจที่ได้ถ่ายทอดองคืความรู้ที่มีอยู่ให้ประชาชนในพื้นที่

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

การเสียสละเวลาของตนเองเพื่อประโยชน์ให้แก่คนในชุมชน เช่น การเข้าร่วมการลงเยี่ยมบ้าน

รูปถ่าย

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

วิถีชีวิตเรียบง่าย โดยการนำหลักโบราณมาปรับใช้ การใช้เศรษฐกิจพอเพียง นำสมุนไพรมาปรับใช้

-

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

คนในชุมชนมีการเอื้ออาทรกัน เช่น การหยิบยื่นสมุนไพรให้แก่หญิงคลอดบุตร การให้คำแนะนำ/การบอกกล่าวประสบการณ์การดูแลแก่หญิงคลอดบุตร

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

องค์ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม เช่น อบรมเรื่องการกินอาหารที่มีประโยชน์ต่อมารดา ส่งผลให้เกิดสามารถตัดสินใจและสามารถเลือกปฏิบัติการดูแลตนเองในชี่วิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง

-

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการสานสัมพันธ์ สู่อ้อมกอด ด้วยนมแม่ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอารียา เส็มสา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด