กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์


“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ”

ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
กลุ่ม อสม. ต.ท่าโพธิ์

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 125,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาเกี่ยวกับโรคติดต่อซึ่งมียุงลายเป็นพาหะนำโรคอย่างโรคไข้เลือดออก หรือโรคติดต่ออื่น เช่น ชิกุนกุนย่า ยังคงเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในเขตพื้นที่ตำบลท่าโพธิ์ เนื่องจากมีสภาพแวดล้อมส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มและประกอบกับเกิดฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง ทำให้มีน้ำท่วมขังและเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายได้ง่าย ซึ่งยุงลายเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกหรือชิกุนกุนย่าให้แพร่กระจายไปและพบว่ายังมีประชาชนที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกอีกหลายราย ทั้งยังคงมีแนวโน้มระบาดและเกิดโรคซ้ำในพื้นที่เดิมอย่างต่อเนื่องทั้งในพื้นที่ตำบลท่าโพธิ์และใกล้เคียง ซึ่งถ้าหากไม่มีการวางมาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคอาจทำให้มีการระบาดมากยิ่งขึ้น ทำให้ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนได้ ดังนั้น กลุ่ม อสม.ตำบลท่าโพธิ์ได้จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อใช้ในการดำเนินงานกิจกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันและลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกหรือโรคติดต่ออื่น
  2. เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้และมีส่วนร่วมในการกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
  3. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกหรือโรคติดต่ออื่น เช่น ชิกุนกุนย่าในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5,897
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. สามารถควบคุมยุงลายหรือแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคได้ครอบคลุมทุกพื้นที่
2. สามารถป้องกันและลดอัตราผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกหรือโรคติดต่ออื่น เช่น ชิกุนกุนย่าในพื้นที่
๓. ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย

วันที่ 31 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

การพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายรัศมี 100 เมตร รอบบ้านผุ้ป่วยไข้เลือดออก และพ่นเต็มพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สามารถควบคุมยุงลายหรือแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคได้ครอบคลุมทุกพื้นที่
  2. สามารถป้องกันและลดอัตราผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกหรือโรคติดต่ออื่น เช่น ชิกุนกุนย่าในพื้นที่
  3. ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค

 

5,897 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. สามารถควบคุมยุงลายหรือแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคได้ครอบคลุมทุกพื้นที่
  2. สามารถป้องกันและลดอัตราผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกหรือโรคติดต่ออื่น เช่น ชิกุนกุนย่าในพื้นที่
  3. ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันและลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกหรือโรคติดต่ออื่น
ตัวชี้วัด : สามารถป้องกันและลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกหรือโรคติดต่ออื่น
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้และมีส่วนร่วมในการกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
ตัวชี้วัด : ประชาชนได้รับรู้และมีส่วนร่วมในการกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
0.00

 

3 เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกหรือโรคติดต่ออื่น เช่น ชิกุนกุนย่าในพื้นที่
ตัวชี้วัด : สามารถป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกหรือโรคติดต่ออื่น เช่น ชิกุนกุนย่าในพื้นที่
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 5897
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5,897
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันและลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกหรือโรคติดต่ออื่น (2) เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้และมีส่วนร่วมในการกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค (3) เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกหรือโรคติดต่ออื่น เช่น ชิกุนกุนย่าในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก

ระยะเวลาโครงการ 16 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

มีความระมัดระวังตนเองไม่ไปอยู่ในสาถานที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

มีการนำสมุนไพรในท้องที่มาประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันยุงกัด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การจัดการตนเอง -ไปพบแพทย์เมื่อมีอาการป่วย หรือสงสัยว่าป่วยด้วยโรคระบาด -มีการประเมินตนเองเกี่ยวกับอาการป่วยของโรคก่อนไปพบแพทย์ -มีการรักษาความสะอาดของครัวเรือน กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายบริเวณบ้านและรอบๆบริเวณบ้าน การจัดการครอบครัว -เมื่อมีคนในครอบครัวเจ็บป่วยจะพาไปพบแพทย์ทันที และคนในครอบครัวจะต้องระมัดระวังในการป้องกันโรคมากขึ้น - เมื่อคนในครอบครัวเจ็บป่วย มักจะเกิดความวิตกกังวล รู้สึกไม่อยากให้มีอาการป่วยซ้ำๆเกิดขึ้นกับคนในครอบครัวอีก การจัดการชุมชน -มีการส่งต่อความรู้การป้องกันโรคจากปากต่อปาก และเกิดการสร้างความเข้าใจโรคของคนในชุมชน -มีการพัฒนาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่สาธาณะให้สะอาด ปลอดขยะ -เกิดการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตความเชื่อแบบโบราณที่เชื่อว่าสามารถการป้องกันโรคได้หมดไป เช่นความเชื่อเกี่ยวกับการก่อกองไฟไล่ยุง -มีการรวบรวมขยะมูลฝอยทั่วไปไว้ในถังขยะ หรือจุดรวบรวมขยะ เพื่อให้ อปท.ทำการเก็บขนไปทำลายอย่างถูกวิธี

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

-มีการรณรงค์แจกจ่ายถุงขยะเพื่อกำจัดขยะในแต่ละครัวเรือน -มีการคัดแยกขยะ และนำขยะรีไซเคิลที่สามารถจำหน่ายได้ไปจำหน่ายเพื่อนำรายได้เข้าสู่บัญชีกองทุนชุมชน -มีการจัดการวิ่งแวดล้อมในบริเวณบ้านและรอบบ้านให้เป็นระเบียบเรียบร้อยเพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-เกิดความระมัดระวังในการเกิดโรคมากขึ้น ส่งผลให้มีความปลอดภัยจากการเกิดโรคของคนในชุมชน -มีการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาในพื้นที่เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย -มีการนำหลักศานนามาปรับใช้เพื่อให้คนในชุมชนปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากโรค

ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

มีการนำขยะที่ได้จากการคัดแยกขยะ มาประยุกต์ทำให้เกิดสินค้าเพื่อจำหน่ายสร้างรายได้

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

เป็นลักษณะของการขอความร่วมมือ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

เป็นลักษณะของการขอความร่วมมือ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

เป็นลักษณะของการขอความร่วมมือ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

-ข้อบัญญัติของ อปท.ด้านการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล -ข้อบังคับการห้ามทิ้งขยะในพื้นที่สาธารณะ

ข้อบัญญัติ อปท. ป้ายประชาสัมพันธ์

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดการประสานงานกันในกลุ่มเครือข่ายในชุมชน เช่น กลุ่มอสม. รพ.สต.

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

-มีการจัดประชุมประชาคม เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์สาเหตุการเกิดโรค - มีการวางแผนเพื่อแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ตามความรู้ความสามารถของแต่ละบุคคล -มีการดำเนินการตามแผนที่วางไว้จากการระดมความคิดในการทำประชาคม -มีการติดตามผลการดำเนินโครงการโดยการสอบถามประชาชนในชุมชน -มีการประเมินผลหลังเสร็จสิ้นโครงการถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินโครงการ และความพึงพอใจของชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

-คณะกรรมการหมู่บ้านได้แสดงบทบาทในการออกมาระดมความคิดในการพัฒนาโครงการหรือกิจกรรม

รายงานการประชุมของกลุ่ม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการดำเนินโครงการเพื่อควบคุมโรคต่อเนื่องทุกปี

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

-มีวิธีคิดในการตัดสินใจด้านการจัดการปัญหาการแพร่ระบาดของโรคและการควบคุมโรค -มีการนำข้อมูลสุขภาพมาจัดทำแผนงาน และเขียนโครงการเพื่อป้องกันและควบคุมโรคในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

-รู้สึกภูมิในตนเองที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการทำให้ชุมชนปลอดภัยจากโรคระบาด -รู้สึกภูมิใจในองค์กรที่ได้ขยายการดำเนินโครงการไปยังกลุ่มอื่นๆให้เสนอโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุนฯในด้านการป้องกันและควบคุมโรคมากขึ้น -รู้สึกภาคภูมิใจในชุมชนที่ประชาชนให้ความร่วมมือและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

นอกเหนือจากการปฏิบัติตนให้ตนเองและคนในครอบครัวปลอดภัยจากการเกิดโรคแล้ว ยังมีการทำเพื่อส่วนรวมให้ปลอดภัยจากโรคด้วยเช่นกัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

มีการใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย แต่เกิดความตระหนักในการระมัดระวังตนเองให้ปลอดภัยจากการเกิดโรคมากขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

-มีการดูแล ให้คำแนะนำผู้อื่นในด้านการป้องกันโรค

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

มีการนำข้อมูลต่างๆ รวมถึงด้านช่วงเวลาของการแพร่ระบาดของโรค มาวิเคราะห์สาเหตุของการเกิดโรค และวางแผนดำเนินโครงการ

ด้านช่วงเวลาของการแพร่ระบาดของโรค มาวิเคราะห์สาเหตุของการเกิดโรค และวางแผนดำเนินโครงการ

รายละเอียดโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กลุ่ม อสม. ต.ท่าโพธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด