กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์


“ โครงการ ห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ”

ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายกอซันหลี สันหรน

ชื่อโครงการ โครงการ ห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง

ที่อยู่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุติดบ้านมีกำลังใจ ในการดำเนินชีวิตสามารถดูแลตนเองได้
  2. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดเตียงได้มีการพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลผู้สูงอายุติดเตียง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์โครงการห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง
  2. ลงเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายโดยอสม. ในเขตรับผิดชอบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 30
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุติดบ้านมีกำลังใจ ในการดำเนินชีวิตสามารถดูแลตนเองได้ 2.ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดเตียงได้มีการพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลผู้สูงอายุติดเตียง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชาสัมพันธ์โครงการห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์โครงการห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุติดบ้าน  ติดเตียง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาสัมพันธ์โครงการห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุติดบ้าน  ติดเตียง หมู่ที่ 1-6 และ8 ตำบลท่าโพธิ์

 

0 0

2. ลงเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายโดยอสม. ในเขตรับผิดชอบ

วันที่ 17 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ลงเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายโดยอสม. ในเขตรับผิดชอบ ในหมูที่ 1-6 และ 8 ตำบลท่าโพธิ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการเยี่ยมบ้าน ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป หมู่ที่ 1 - 6 และ 8 ตำบลท่าโพธิ์ จำนวน 839 คน เป็นผู้สูงอายุติดสังคม 809 ราย ติดบ้าน 23 ราย พบว่าผู้สูงอายุติดบ้าน เป็นผู้สูงอายุที่สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ 20 ราย ไม่สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ 3 ราย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการเยี่ยมบ้าน ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป หมู่ที่ 1 - 6 และ 8 ตำบลท่าโพธิ์ จำนวน 839 คน เป็นผู้สูงอายุติดสังคม 809 ราย ติดบ้าน 23 ราย พบว่าผู้สูงอายุติดบ้าน เป็นผู้สูงอายุที่สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ 20 ราย ไม่สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ 3 ราย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุติดบ้านมีกำลังใจ ในการดำเนินชีวิตสามารถดูแลตนเองได้
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุติดบ้านสามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองร้อยละ80
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดเตียงได้มีการพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลผู้สูงอายุติดเตียง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุติดบ้านและญาติผู้สูงอายุติดเตียงรู้สึกมีความพึงพอใจร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 30 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 30
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุติดบ้านมีกำลังใจ ในการดำเนินชีวิตสามารถดูแลตนเองได้ (2) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดเตียงได้มีการพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลผู้สูงอายุติดเตียง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์โครงการห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุติดบ้าน  ติดเตียง (2) ลงเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายโดยอสม. ในเขตรับผิดชอบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ ห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง

ระยะเวลาโครงการ 16 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

เกิดความรู้ในด้านทักษะการสอนการออกกำลังกายให้แก่ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงตามความเหมาะสมในแต่ละราย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

-ยางยืดสำหรับออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ -ไม้พลองออกกำลังกาย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

เป็นรูปแบบโครงการในลักษณะลงเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายโดยอสม. ในเขตรับผิดชอบ โดยเข้าไปให้คำแนะนำด้านสุขภาพต่างๆ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

แต่เกิดมุมอ่านหนังสือภายในชมรมผู้สูงอายุ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง ให้ความสำคัญกับการรักษาความสะอาดร่างกาย และสิ่งรอบตัวผู้สูงอายุมากขึ้น เพื่อป้องกันการติดเชื้อ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง ได้รับประทานอาหารที่เหมาะสมกับภาวะสุขภาพของตนมากขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง มีการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับตนเองเท่าที่ความสามารถจะทำได้

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

การที่ อสม.ได้ลงเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง ทำให้ผู้สูงอายุได้พบปะผู้คน ได้พุดคุยพบหน้ากับคนอื่นๆ เสมือนว่าไม่ได้อยู่เหงาๆเพียงลำพัง ทำให้ความรุ้สึกโดดเดี่ยวลดลง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การจัดการตนเอง -ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง หันมาออกกำลังกายแบบง่ายๆด้วยตนเองที่บ้าน และให้ความสำคัญกับการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ และปลอดสารเคมี การจัดการครอบครัว
-เมื่อคนในครอบครัวมีอาการป่วยจะรีบพาไปพบแพทย์ และจะเกิดความรู้สึกกังวลใจเมื่อคนในครอบครัวเจ็บป่วย การจัดการชุมชน -มีการสื่อสารผ่านช่องทางหอกระจายข่าวหมู่บ้าน และโซเชียลมิเดียต่างๆ เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลได้รับข่าวสารสุขภาพและการประชาสัมพันธ์ต่างๆ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

มีการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม สะอาด และถูกสุขลักษณะในบ้านเรือน เพื่อการมีคุรภาพชีวิตที่ดี และอำนวยความสะดวกในการใช้ชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-มีสถานที่สำหรับการออกกำลังกายให้ผู้สูงอายุมาออกกำลังกายนอกบ้านร่วมกับคนในชุมชนได้ ได้แก่สนามโรงเรียน ลานวัด พื้นที่รอบอ่างเก็บน้ำ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

อาสาสมคัรสาธารณสุข เขามามีบทบาทในการดูแลและให้คำแนะนำแก่ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงและผูดูแล

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

สนับสนุนงบประมาณกองทุนตำบลสำหรับการจัดโครงการเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพของคนในชุมชน

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการประสานงานระหว่างกลุ่มในชุมชน ได้แก่ ชมรมผู้สูงอายุ และ กลุ่ม อสม.

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

-มีการนำฐานข้อมูลมาใช้ในการวางแผนจัดทำโครงการ -มีการดำเนินการตามแผนที่วางไว้ การลงเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุทำให้ได้รับทราบถึงปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

มีการสอนการใช้อุปกรณ์สำหรับการออกกำลังกายให้แก่ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงอย่างถูกวิธี

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

เกิดทักษะที่จะจัดทำโครงการด้วยรูปแบบการจัดโครงการแบบใหม่ๆ และมีการใช้ฐานข้อมูลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงในชุมชนมาวางแผนสำหรับการจัดทำโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

-ภูมิใจในตนเองที่สามารถสร้างเสริมสุขภาพที่ดี และสร้างความสุขให้แก่ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง -ภูมิใจในองคืกรที่ร่วมมือกันขับเคลื่อนโครงการในลักษณะการลงเยี่ยมบ้ายผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง ให้สำเร็จลุล่วงไปได้

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

อสม. ร่วมกันจัดทำโครงการ โดยใช้เวลาส่วนหนึ่งมาทำเพื่อการส่งเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงมีการนำวัสดุเหลือใช้มาทำเป็นอุปกรณ์สำหรับออกกำลังกายแบบง่ายๆให้แก่ผู้สูงอายุ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

ชุมชนมีความห่วงใยซึ่งกันและกัน เห็นอกเห็นใจและแสดงน้ำใจต่อกัน มีการไปเยี่ยมเยือนและไปมาหาสู่กัน โดยเฉพาะเมื่อทราบว่าบ้านใดมีผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง หรือมีผู้ป่วย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

มีการศึกษาหาความรู้ในด้านการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุจากแหล่งความรุ้ต่างๆ และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อนำไปแนะนำให้แก่ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ ห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกอซันหลี สันหรน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด