โครงการ 7 สีนี้ ดีต่อคุณ ชุมชนบ้านสวนหลวง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ 7 สีนี้ ดีต่อคุณ ชุมชนบ้านสวนหลวง ”
อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางเกศรินทร์ชูกลิ่น
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการ 7 สีนี้ ดีต่อคุณ ชุมชนบ้านสวนหลวง
ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 020102560 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ 7 สีนี้ ดีต่อคุณ ชุมชนบ้านสวนหลวง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ 7 สีนี้ ดีต่อคุณ ชุมชนบ้านสวนหลวง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ 7 สีนี้ ดีต่อคุณ ชุมชนบ้านสวนหลวง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 020102560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โดยใช้แนวทางการดำเนินงานที่มีชื่อว่า “ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี” ซึ่งมีหลักการดำเนินงานคือ คัดกรองประชาชน35 ปีขึ้นไปและจำแนกเป็น กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย หลังจากนั้นดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้หลัก 3 อ.(อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) 2 ส.(สูบบุหรี่ สุรา) เพื่อควบคุม ป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โดยใช้กระบวนการสุขศึกษาในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพทั้งในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มปกติโดยมุ่งเน้นที่การป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่เป็นสาเหตุหลักของการเกิดโรคและมีการสนับสนุนให้เกิดกระบวนการจัดการตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ภายใต้ปรัชญาและแนวคิดหลักในการพัฒนาวิถีชีวิตไทยให้ห่างไกลและปราศจากปัจจัยเสี่ยง มีปัจจัยเสริมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สร้างภูมิคุ้มกันและสุขภาวะของทั้งสังคมให้สามารถลดโรคและภัยสุขภาพโดยให้ประชาชน รับรู้ เข้าใจ ตระหนักถึงภาวะเสี่ยงสามารถปรับพฤติกรรมควบคุมป้องกันปัจจัยเสี่ยงได้
ปี2557 - 2559 ชุมชนบ้านสวนหลวง มีประชาชนอายุ35ปีขึ้นไปจำนวน323 คน พบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงร้อยละ 24.15 , 28.79 และ 27.55 ตามลำดับ กลุ่มเป็นโรคร้อยละ 40.24 , 44.27และ 43.03ตามลำดับชุมชนบ้านสวนหลวงได้เล็งเห็นความสำคัญในการแก้ไขปัญหาสุขภาพซึ่งจะเห็นว่า กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเป็นโรคซึ่งเป็นกลุ่มที่มีปัญหา ซึ่งกลุ่มที่เป็นโรคที่มีระดับรุนรงปากลาง (สีส้ม) ร้อยละ 3.72 ,2.79 และ 2.17 ตามลำดับกลุ่มที่มีระดับรุนแรงมาก (สีแดง)ร้อยละ 1.86 , 2.48 และ 3.10 ตามลำดับซึ่งถ้าไม่ดูแลเป็นพิเศษ กลุ่มเสี่ยงก็จะกลายเป็นกลุ่มเป็นโรคกลุ่มที่เป็นโรคที่ควบคุมโรคไม่ได้ก็จะกลายเป็นกลุ่มที่มีโรคแทรกซ้อน ส่งผลให้เสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาเป็นจำนวนมากทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และประเทศชาติ ดังนั้น อสม. และแกนนำ ชุมชนบ้านสวนหลวง ได้เล็งเห็นความสำคัญของ“ ปิงปองจราจรชีวิต7สี”และให้ความรู้รายบุคคลที่มุ่งเน้นในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพจึงได้นำมาบูรณาการร่วมกันเป็นกระบวนการให้คำปรึกษาเพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โดยใช้ “ ปิงปองจราจรชีวิต7 สี” เป็นเครื่องมือในการจัดระดับความรุนแรงให้ความรู้รายบุคคลโดยการใช้กระบวนการดำเนินกิจกรรมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพในคลินิกโรคเรื้อรังคลินิกให้คำปรึกษา และคลินิกไร้พุงมีทีมพยาบาลเภสัชกร และแพทย์เป็นที่ปรึกษาในการดูแลสุขภาพจึงได้จัดทำโครงการ “ 7สี นี้ดีต่อคุณ” ชุมชนบ้านสวนหลวงขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๒.๑ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงรู้ว่าพฤติกรรมนั้นต้องเปลี่ยน โดยการเรียนรู้จากทีมสุขภาพ
- ๒.๒ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้และทักษะที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑ กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ กลายเป็นกลุ่มปกติร้อยละ60
๒.กลุ่มเสี่ยง ที่เข้าร่วมโครงการได้รับการติดตามจาก อสม.และเจ้าหน้าที่ร้อยละ 90
4 กลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตามดูแลและส่งต่อที่ถูกต้องเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้
วันที่ 24 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถจัดการตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพืรอควบคุมป้องกันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงสร้างภ฿มิคุ้มกันและสุขภาวะ สามารุลดโรคและภัยสุขภาพ กลุ่มเป้าหมายกลายเป็นกลุ่มปกติร้อยละ60 กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามจากอสม.และเจ้าหน้าที่ร้อยละ90
50
50
2. ติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย
วันที่ 25 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการติดตามเยี่ยม พบว่าระดับน้ำตาลในเลือดลดลง15คน คิดเป็นร้อยละ 75 เพิ่มขึ้นจำนวน5คน คิดเป็นร้อยละ 25
50
0
3. ประกวดบุคลต้นแบบ
วันที่ 11 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประกวดบุคคลต้นแบบที่มีพฤติกรรมดีขึ้น หลังได้รับการอบรมและการติดตามเยี่ยมที่บ้าน จำนวน2คน
2
2
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๒.๑ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงรู้ว่าพฤติกรรมนั้นต้องเปลี่ยน โดยการเรียนรู้จากทีมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยง เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 60
2
๒.๒ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้และทักษะที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ๒. กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อยร้อยละ 60
3. กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการกลายเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ60
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๒.๑ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงรู้ว่าพฤติกรรมนั้นต้องเปลี่ยน โดยการเรียนรู้จากทีมสุขภาพ (2) ๒.๒ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้และทักษะที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ 7 สีนี้ ดีต่อคุณ ชุมชนบ้านสวนหลวง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 020102560
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเกศรินทร์ชูกลิ่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ 7 สีนี้ ดีต่อคุณ ชุมชนบ้านสวนหลวง ”
อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางเกศรินทร์ชูกลิ่น
กันยายน 2560
ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 020102560 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ 7 สีนี้ ดีต่อคุณ ชุมชนบ้านสวนหลวง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ 7 สีนี้ ดีต่อคุณ ชุมชนบ้านสวนหลวง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ 7 สีนี้ ดีต่อคุณ ชุมชนบ้านสวนหลวง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 020102560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โดยใช้แนวทางการดำเนินงานที่มีชื่อว่า “ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี” ซึ่งมีหลักการดำเนินงานคือ คัดกรองประชาชน35 ปีขึ้นไปและจำแนกเป็น กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย หลังจากนั้นดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้หลัก 3 อ.(อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) 2 ส.(สูบบุหรี่ สุรา) เพื่อควบคุม ป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โดยใช้กระบวนการสุขศึกษาในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพทั้งในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มปกติโดยมุ่งเน้นที่การป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่เป็นสาเหตุหลักของการเกิดโรคและมีการสนับสนุนให้เกิดกระบวนการจัดการตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ภายใต้ปรัชญาและแนวคิดหลักในการพัฒนาวิถีชีวิตไทยให้ห่างไกลและปราศจากปัจจัยเสี่ยง มีปัจจัยเสริมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สร้างภูมิคุ้มกันและสุขภาวะของทั้งสังคมให้สามารถลดโรคและภัยสุขภาพโดยให้ประชาชน รับรู้ เข้าใจ ตระหนักถึงภาวะเสี่ยงสามารถปรับพฤติกรรมควบคุมป้องกันปัจจัยเสี่ยงได้ ปี2557 - 2559 ชุมชนบ้านสวนหลวง มีประชาชนอายุ35ปีขึ้นไปจำนวน323 คน พบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงร้อยละ 24.15 , 28.79 และ 27.55 ตามลำดับ กลุ่มเป็นโรคร้อยละ 40.24 , 44.27และ 43.03ตามลำดับชุมชนบ้านสวนหลวงได้เล็งเห็นความสำคัญในการแก้ไขปัญหาสุขภาพซึ่งจะเห็นว่า กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเป็นโรคซึ่งเป็นกลุ่มที่มีปัญหา ซึ่งกลุ่มที่เป็นโรคที่มีระดับรุนรงปากลาง (สีส้ม) ร้อยละ 3.72 ,2.79 และ 2.17 ตามลำดับกลุ่มที่มีระดับรุนแรงมาก (สีแดง)ร้อยละ 1.86 , 2.48 และ 3.10 ตามลำดับซึ่งถ้าไม่ดูแลเป็นพิเศษ กลุ่มเสี่ยงก็จะกลายเป็นกลุ่มเป็นโรคกลุ่มที่เป็นโรคที่ควบคุมโรคไม่ได้ก็จะกลายเป็นกลุ่มที่มีโรคแทรกซ้อน ส่งผลให้เสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาเป็นจำนวนมากทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และประเทศชาติ ดังนั้น อสม. และแกนนำ ชุมชนบ้านสวนหลวง ได้เล็งเห็นความสำคัญของ“ ปิงปองจราจรชีวิต7สี”และให้ความรู้รายบุคคลที่มุ่งเน้นในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพจึงได้นำมาบูรณาการร่วมกันเป็นกระบวนการให้คำปรึกษาเพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โดยใช้ “ ปิงปองจราจรชีวิต7 สี” เป็นเครื่องมือในการจัดระดับความรุนแรงให้ความรู้รายบุคคลโดยการใช้กระบวนการดำเนินกิจกรรมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพในคลินิกโรคเรื้อรังคลินิกให้คำปรึกษา และคลินิกไร้พุงมีทีมพยาบาลเภสัชกร และแพทย์เป็นที่ปรึกษาในการดูแลสุขภาพจึงได้จัดทำโครงการ “ 7สี นี้ดีต่อคุณ” ชุมชนบ้านสวนหลวงขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๒.๑ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงรู้ว่าพฤติกรรมนั้นต้องเปลี่ยน โดยการเรียนรู้จากทีมสุขภาพ
- ๒.๒ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้และทักษะที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑ กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ กลายเป็นกลุ่มปกติร้อยละ60
๒.กลุ่มเสี่ยง ที่เข้าร่วมโครงการได้รับการติดตามจาก อสม.และเจ้าหน้าที่ร้อยละ 90
4 กลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตามดูแลและส่งต่อที่ถูกต้องเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 24 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถจัดการตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพืรอควบคุมป้องกันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงสร้างภ฿มิคุ้มกันและสุขภาวะ สามารุลดโรคและภัยสุขภาพ กลุ่มเป้าหมายกลายเป็นกลุ่มปกติร้อยละ60 กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามจากอสม.และเจ้าหน้าที่ร้อยละ90
|
50 | 50 |
2. ติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย |
||
วันที่ 25 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการติดตามเยี่ยม พบว่าระดับน้ำตาลในเลือดลดลง15คน คิดเป็นร้อยละ 75 เพิ่มขึ้นจำนวน5คน คิดเป็นร้อยละ 25
|
50 | 0 |
3. ประกวดบุคลต้นแบบ |
||
วันที่ 11 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประกวดบุคคลต้นแบบที่มีพฤติกรรมดีขึ้น หลังได้รับการอบรมและการติดตามเยี่ยมที่บ้าน จำนวน2คน
|
2 | 2 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๒.๑ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงรู้ว่าพฤติกรรมนั้นต้องเปลี่ยน โดยการเรียนรู้จากทีมสุขภาพ ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยง เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 60 |
|
|||
2 | ๒.๒ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้และทักษะที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเอง ตัวชี้วัด : ๒. กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อยร้อยละ 60 3. กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการกลายเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ60 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๒.๑ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงรู้ว่าพฤติกรรมนั้นต้องเปลี่ยน โดยการเรียนรู้จากทีมสุขภาพ (2) ๒.๒ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้และทักษะที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ 7 สีนี้ ดีต่อคุณ ชุมชนบ้านสวนหลวง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 020102560
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเกศรินทร์ชูกลิ่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......