กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.สมาชิกที่ร่วมโครงการเกิดทักษะและสามารถปลูกผักได้อย่างถูกวิธี 2.สมาชิกทีร่วมโครงการมีความรู้และนวัตกรรมในการปลูกผักอินทรีย์ 3.สมาชิกทีร่วมโครงการสามารถพัฒนาอาชีพ และมีงานทำที่สร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว 4.สมาชิกทีร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ 5.ผลผลิตของสมาชิกมีคุณภาพดี และ ปลอดภัย 6.ครอบครัวสมาชิกได้รับประโยชน์จากการปลูกผักบริโภคเอง ประหยัด และ ส่งเสริมการเกษตรแบบพอเพียง 7.ลดทรัพยากรขยะในชุมชนและลดภาวะโลกร้อน จากการประยุกใช้วัสดุเหลือใช้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๒.๑เพื่อต้องการส่งเสริมและสนับสนุนการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษไว้บริโภคและใช้สอย
ตัวชี้วัด :

 

2 ๒.๒ เพื่อให้มีอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพไว้บริโภค เสริมสร้างการเรียนรู้และสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกิดการพัฒนาความรู้เรื่องเกษตรในเมืองและชานเมือง
ตัวชี้วัด :

 

3 ๒.๓ เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกันของกลุ่มคนในเมืองและเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง ก่อให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อคนเมืองมากขึ้น
ตัวชี้วัด :

 

4 ๒.๔ ศึกษาและพัฒนาร่วมกัน ในการปรับปรุงคุณภาพผลผลิต เพื่อให้เหมาะแก่การเกษตรแบบพอเพียงโดยปราศจากการใช้สารเคมีสังเคราะห์ใดๆ
ตัวชี้วัด :

 

5 ๒.๕ เพื่อใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างคุ้มค่า ลดขยะในชุมชน สังคม และลดภาวะโลกร้อน
ตัวชี้วัด :

 

6 ๒.๖เพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือนที่เป็นอยู่
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๒.๑เพื่อต้องการส่งเสริมและสนับสนุนการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษไว้บริโภคและใช้สอย (2) ๒.๒ เพื่อให้มีอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพไว้บริโภค เสริมสร้างการเรียนรู้และสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกิดการพัฒนาความรู้เรื่องเกษตรในเมืองและชานเมือง (3) ๒.๓ เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกันของกลุ่มคนในเมืองและเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง ก่อให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อคนเมืองมากขึ้น (4) ๒.๔ ศึกษาและพัฒนาร่วมกัน ในการปรับปรุงคุณภาพผลผลิต เพื่อให้เหมาะแก่การเกษตรแบบพอเพียงโดยปราศจากการใช้สารเคมีสังเคราะห์ใดๆ (5) ๒.๕ เพื่อใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างคุ้มค่า ลดขยะในชุมชน สังคม และลดภาวะโลกร้อน (6) ๒.๖เพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือนที่เป็นอยู่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh