กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์การควบคุมลูกน้ำยุงลายตัดวงจรไข้เลือดออก
รหัสโครงการ 0214
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่ม อสม หมู่ที่ 9
วันที่อนุมัติ 1 กุมภาพันธ์ 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 12,950.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชนหมู่9บ้านควนดินดำ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 29 มิ.ย. 2560 29 มิ.ย. 2560 12,950.00
รวมงบประมาณ 12,950.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องจากปัญหาระบาดของโรคไข้เลือดออกใน ม.9จากสภาพปัญหาบริบทของชุมชนในช่วงหน้าแล้งมีช่วงระยะยาวกว่าทุกปีแต่พอมีฝนๆก็ตกซ้ำซากทำให้เกิดวัฎจักรของยุงลายมีการพัมนาผนวกกับชุมชนมีเชื้อไข้เลือดออกอยู่ในพื้นที่หากว่าปัจจัยการเกิดโรคจึงเอื้อต่อการครบวงจรการทำให้เกิดโรค คือมียุง มีคน มีเชื้อไข้เลือดออกคนในชุมชนจึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีองค์ความรู้ในการปฏิบัติเฝ้าระวังโรคอย่างเข้าใจและรู้เท่าทันการควบคุมการระวังไม่ให้ภายในบ้านบริเวณบ้านบริเวณบ้านบริเวณบ้านมีภาชนะที่น้ำขังโดยไม่มีฝาปิด หรือใส่ปลากินลูกน้ำนอกเหนือจากภาชนะที่สามารถทำลายได้ ให้เจ้าของบ้านดูแลสิ่งเหล่านี้ในบ้านตนเองพบลูกน้ำก็ทำลายเป็นตัวโม่งและเป็นยุงโตเต็มวัยพร้อมกัดและถ้าหากไปกัดคนที่มีเชื้อไข้เลือดออกก็จะนำเชขื้อไปและถ้าไปกัดคนที่ไม่มีเชื้อยุงตัวนั้นก็จะมีการปล่อยเชื้อให้กับคนต่อๆไป การตัดวงจรของลูกน้ำจึงเป็นขั้นตอนอันสำคัญ แม้มีลูกน้ำแต่ถ้าดูแลทำลายลูกน้ำได้ก็จะไม่มียุง ซึ่งยุงที่ไปกัดคนและพร้อมแพร่เชื้อไข้เลือดออกได้ทุกเวลา ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 9 จึงได้เล็งเห็นปํญหาของไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนเพื่อไมให้เกิดความเสียหายต่อพี่น้องประชาชนด้านสุขภาพ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เกิดปัญหากับภาคราชการในการดูแลด้านค่าใช้จ่ายงบประมาณการรักษาและการควบคุมโครงการดังกล่าวจึงมีความจำเป็นต้องรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีการตื่นรู้ตื่นกลัวต่อโรคภัยนี้ว่ามีความร้ายแรงจนถึงแก่ชีวิตได้ทุขข์เสียเวลาทำมาหากิน เสียเงินทองในกลุ่มเด็กนักเรียนต้องหยุดเรียนเป็นเวลาหลายกระทบกับการศึกษาปัญหารต่างเหล่า นี้เราหยุดได้ ถ้าไม่มียุงเป็นพาหนะในการเกิดโรคชุมชนจึงได้ร่วมมือกันรับภัยไข้เลือดออกโดยผู้ที่เกี่ยวข้องประกอบด้วยผู้นำชุมชน อสม. สถานศึกษา เดินรณรงค์เยี่ยมบ้านสร้างความรู้ความเข้าใจ ประชาสัมพันธ์ แจกแผ่นพับ ความเข็มแข็งมีความสุขความสมดุลอย่างยั่งยืน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อต้องการการรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ความเข้าใจถึงพิษภัยไข้เลือดออก 2.เพื่อให้ชุมชนเกิดการเฝ้าระวังไข้เลือดออก 3.เพื่อชุมชนเกิดความร่วมมือร่วมใจเกิดความสมัคคี 4.เพื่อเกิดชุมชนต้นแบบปลอดไข้เลือดออก

เพื่อต้องการการรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ความเข้าใจถึงพิษภัยไข้เลือดออก เพื่อให้ชุมชนเกิดการเฝ้าระวังไข้เลือดออก เพื่อชุมชนเกิดความร่วมมือร่วมใจเกิดความสมัคคี เพื่อเกิดชุมชนต้นแบบปลอดไข้เลือดออก

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1.เพื่อต้องการการรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ความเข้าใจถึงพิษภัยไข้เลือดออก 2.เพื่อให้ชุมชนเกิดการเฝ้าระวังไข้เลือดออก 3.เพื่อชุมชนเกิดความร่วมมือร่วมใจเกิดความสมัคคี 4.เพื่อเกิดชุมชนต้นแบบปลอดไข้เลือดออก

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 ต.ค. 59 - 30 ก.ย. 60 รณรงค์ประชาสัมพันธ์การควบคุมลูกน้ำยุงลาย ตัดวงจรไข้เลือกออก 12,950.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในหมู่บ้าน มีความรู้ความเข้าใจถึงพิษภัยไข้เลือกออก เพิ่มขึ้น 2.ประชาชนในชุมชนมีการเฝ้าระวังโรคอย่างใกล้ชิด 3.ทำให้ชุมชนมีคว่ามร่วมมือร่วมกิจกรรมมากขึ้น ทำให้เกิดชุมชนต้นแบบปลอดภัยจากไข้เลือดออก

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 พ.ค. 2560 15:23 น.