โครงการให้ความรู้มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกในพื้นที่
ชื่อโครงการ | โครงการให้ความรู้มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกในพื้นที่ |
รหัสโครงการ | 60-L0000-1-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทดสอบ |
วันที่อนุมัติ | 1 ธันวาคม 2559 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ธันวาคม 2559 - 31 มีนาคม 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 30.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายอัสนัย ขยันทำงาน |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางสาว อัจฉรี ซื่อตรง |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.01,100.474place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 80 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
มะเร็งเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศต่างๆทั่วโรค ในประเทศที่พัฒนาแล้วอัตราการเป็นมะเร็งสูงกว่าประเทศกำลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนากล่าวคือในประเทศสหรัฐอเมริกาอัตราการเป็นมะเร็งในคนผิวขาว432ต่อประชากรแสนคนและคนผิวดำ317.4 ต่อประชากรแสนคนในประเทศแคนนาดา พบอัตราเป็นมะเร็ง311.6 ต่อประชากรแสนคนและในประเทศญี่ปุ่นพบอัตราเป็นโรคมะเร็ง205.4 ต่อประชากรแสนคนในประเทศที่กำลังพัฒนา จะพบมีอัตราการเกิดโรคมะเร็งเพิ่มสูงตามไปด้วยองค์การอนามัยโลกได้ประมาณ อัตราการเพิ่มขึ้นของโรคมะเร็งในอนาคตอีก 20 ปีข้างหน้าจะเพิ่มเป็น 2เท่าของปัจจุบัน
สถานการณ์ของโรคมะเร็งปากมดลูก เป็นปัญหาทางสาธารณสุขของโลก โดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนาในประเทศไทยโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย มีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ 6,300 ราย พบมากที่สุดระหว่าง 45-50 ปี
จากเหตุผลเบื้องต้น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้กำหนดการดำเนินงานควบคุมแล้ป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก เป็นงานหลักให้กับทุกสถานบริการเร่งรัดการดำเนินการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 30- 60 ปี ในปี 2560 ซึ่งในปีที่ผ่านมา องค์การบริหารส่วนตำบล.............. ได้ดำเนินการตามนโยบาย และจากการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล.............. พบปัญหาในการดำเนินงาน เป็นการดำเนินงานที่บรรลุเป้าหมายยากมาก เพราะประชาชน ยังไม่ตระหนักถึงความอันตรายของโรค มีความอายในการมาตรวจดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล..............ตระหนักถึงปัญหาและเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเนื่องจากสามารถรักษาได้ หากตรวจพบในระยะเริ่มแรก จึงได้จัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก โดยดึงพลังแกนนำ ของประชาชนทุกภาคส่วนเช่น อสม. กลุ่มสตรี กลุ่มสามีครูนักเรียนมาร่วมดำเนินงานโดยมุ่งหวังความสำเร็จให้สุขภาพของประชาชน พ้นจากมะเร็งปากมดลูก
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | สตรีกลุ่มอายุ 30 – 60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม สตรีกลุ่มอายุ 30 – 60 ปี จำนวน.........คน มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม |
||
2 | สตรีกลุ่มอายุ 30 – 60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมและปากมดลูก 2.1 สตรีกลุ่มอายุ 30 – 60 ปี จำนวน.........คน ได้รับการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- ประชาสัมพันธ์โครงการ
- สำรวจ ทำทะเบียนกลุ่มสตรีอายุ 30 – 60 ปี
- จัดเตรียมเอกสารต่างๆ
- ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง วัสดุอุปกรณ์ประกอบการอบรม
- นัดกลุ่มเป้าหมายมาร่วมกิจกรรมอบรม โดยมีเนื้อหาดังนี้
- ความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
- การตรวจ ค้นหา โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
- แนวทางการป้องกัน ลดปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็ง
- ฝึกทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
- ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายที่ไม่เคยรับการตรวจในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา และส่งตรวจที่ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลหรือศูนย์พยาธิวิทยา
- ประเมินผลการดำเนินงาน โดย
- แบบทดสอบความรู้ก่อน-หลังการอบรมฯ
- ทะเบียนการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก
- แบบประเมินทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
- แบบทดสอบความรู้ก่อน-หลังการอบรมฯ
- สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแบบรายงาน ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่.........
สตรีกลุ่มอายุ 30 – 60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก และมีทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และได้รับการตรวจพบมะเร็งในระยะเริ่มต้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 ธ.ค. 2559 19:21 น.