กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันและรักษาโรคแก่ผู้ประสบอุทกภัยเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ”
อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางบุณยวรรณพุ่มนุ่ม




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและรักษาโรคแก่ผู้ประสบอุทกภัยเขตเทศบาลเมืองพัทลุง

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 050012527 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 ธันวาคม 2559 ถึง 31 มีนาคม 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและรักษาโรคแก่ผู้ประสบอุทกภัยเขตเทศบาลเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและรักษาโรคแก่ผู้ประสบอุทกภัยเขตเทศบาลเมืองพัทลุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและรักษาโรคแก่ผู้ประสบอุทกภัยเขตเทศบาลเมืองพัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 050012527 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 ธันวาคม 2559 - 31 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 139,325.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามประกาศจังหวัดพัทลุง เรื่องประกาศเขตให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน(อุทกภัย) ในพื้นที่อำเภอเมืองพัทลุง อำเภอควนขนุน อำเภอปากพะยูน อำเภอป่าพะยอม อำเภอป่าบอน อำเภอ ศรีบรรพต อำเภอกงหรา อำเภอเขาชัยสน อำเภอบางแก้ว อำเภอตะโหมด อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง ลงวันที่ ๓ธันวาคม๒๕๕๙“ด้วยจังหวัดพัทลุงได้รับผลกระทบจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือกำลังปานกลางที่พัดปกคลุมภาคใต้และอ่าวไทยมีกำลังแรงขึ้นประกอบกับหย่อมความกดอากาศต่ำ ในทะเลจีนใต้ตอนล่างจะเคลื่อนผ่านประเทศมาเลเซียและภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทยทำให้ฝนตกหนักถึงหนักมากตั้งแต่วันที่๑-๓ธันวาคม๒๕๕๙ เป็นต้นมา ทำให้เกิดอุทกภัยขึ้นในพื้นที่จังหวัดพัทลุงเมื่อวันที่๒ธันวาคม๒๕๕๙ ก่อให้ความเสียหายต่อชีวิตทรัพย์สินบ้านเรือนพืชผลทางการเกษตร สัตว์เลี้ยงไร่นาและสิ่งสาธารณประโยชน์และภัยพิบัตกรณีฉุกเฉินดังกล่าวยังไม่ยุติ จำนวน๑๑ อำเภอ ๖๑ตำบล ๕๐๗หมู่บ้าน๔๕ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ฯ ” และมีฝนตกหนักทำให้เกิดอุทกภัยอีกครั้งหนึ่ง ระหว่างวันที่ ๔ – ๘มกราคม๒๕๖๐ นั้น สำหรับในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงสถานการณ์น้ำท่วมฉับพลันครั้งแรกเกิดขึ้นวันที่ ๔ธันวาคม๒๕๕๙ และครั้งทื่ ๒ เกิดขึ้นวันที่ ๔ – ๘ มกราคม ๒๕๖๐ โดยน้ำทะลักเข้าท่วมในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงประกอบกับฝนตกหนักตลอดทั้งวันทั้งคืนทำให้ปริมาณมวลน้ำที่สะสมจากคลองนาท่อมไหลเข้าท่วมในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงน้ำท่วมสูงเฉลี่ย ๕๐-๖๐เซนติเมตร และมีน้ำจากจังหวัดนครศรีธรรมราชไหลเข้ามารวมกันด้วยทำให้มีน้ำท่วมขังเป็นเวลาหลายวัน มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนทำให้ประชาชนเจ็บป่วยดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันโรคและรักษาโรคแก่ประชาชนผู้ประสบอุทกภัย กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองพัทลุง จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและรักษาโรคแก่ผู้ประสบอุทกภัยเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ขึ้น โดยได้ดำเนินงานเชิงรุกในการบริการตรวจรักษาพยาบาลพร้อมทั้งให้คำแนะนำด้านสุขภาพให้ครอบคลุมทั้ง ๔๕ ชุมชน รวมทั้งวัดในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงทั้ง ๘ วัด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้นแก่ประชาชนผู้ประสบอุทกภัย
  2. ๒.เพื่อป้องกันโรคแก่ประชาชนที่จะเกิดขึ้นหลังจากเกิดอุทกภัย
  3. ๓.เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจแก่ประชาชนผู้ประสบอุทกภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 34,792
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ประชาชนผู้ประสบอุทกภัยได้รับการรักษาพยาบาลเบื้องต้น ๒. ประชาชนผู้ประสบอุทกภัยได้รับการป้องกันโรคที่จะเกิดขึ้นหลังจากเกิดอุทกภัย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้นแก่ประชาชนผู้ประสบอุทกภัย
    ตัวชี้วัด :

     

    2 ๒.เพื่อป้องกันโรคแก่ประชาชนที่จะเกิดขึ้นหลังจากเกิดอุทกภัย
    ตัวชี้วัด :

     

    3 ๓.เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจแก่ประชาชนผู้ประสบอุทกภัย
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 34792
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 34,792
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้นแก่ประชาชนผู้ประสบอุทกภัย (2) ๒.เพื่อป้องกันโรคแก่ประชาชนที่จะเกิดขึ้นหลังจากเกิดอุทกภัย (3) ๓.เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจแก่ประชาชนผู้ประสบอุทกภัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันและรักษาโรคแก่ผู้ประสบอุทกภัยเขตเทศบาลเมืองพัทลุง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 050012527

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางบุณยวรรณพุ่มนุ่ม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด