กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกแบบบูรณาการ ประจำปี 2563
รหัสโครงการ 63-L33671-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะเร็ด
วันที่อนุมัติ 23 มกราคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 22,150.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสุขวิทย์ มานันตพงศ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.746,99.864place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยสถานการณ์โรคไข้เลือดออก 5 ปี ย้อนหลัง (พ.2558-พ.ศ.2562) ในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะเร็ด พบว่ามีอัตราป่วย ดังนี้ 0.00, 176.37, 131.81 และ 87.49 (ต่อแสนประชากร) ตามลำดับ และจากการสำรวจข้อมูลชพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2562 พบว่า พฤติกรรมที่่ประชาชนกลุ่มตัวอย่างปฏิบัติประจำ ได้แก่ การป้องกันยุงลายกัด ร้อยละ 65.37 การจัดบ้านให้ระเบียบเรียบร้อย ไม่มีมุมมือด ร้อยละ 60.25 การปิดภาชนะเพื่อไม่ให้ยุงลายมาวางไข่ ร้อยละ 54.38 การปรับปรุงสิ่งแวดล้อวม ร้อยละ 52.20 และการเปลี่ยนน้ำทุก 7 วัน ร้อยละ 48.26 แต่ก็ยังนับเป็นปัญหาสำคัญที่ทุกส่วนต้องติดตามเฝ้าระวัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะเร็ด จึงได้จัดทำโครงการเพื่อควบคุมและลดปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก โดยเน้นให้บ้าน วัด โรงเรียน ศพด.และสถานที่ราชการ ทำการควบคุมป้องกันและสร้างกระบงนการเรียนรู้ร่วมกัน ที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ของการป้องกันและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้ อสม.ประจำหมู่บ้าน ประชาชนทุกครัวเรือน นักเรียน ผู้นำชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง

กล่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ทุกหมู่บ้านมีค่า HI<10

80.00
2 เพื่อให้ประชาชนทุกครัวเรือนมีพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยเน้นพฤติกรรม 5 ป 1ข หรือ 3 เก็บ ในชุมชน สถานบริการสาธารณสุข และโรงเรียนตามเกณฑ์

โรงเรียน ศพด. วัด สำนักสงฆ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล มีค่า CI=0 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลงจาค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง ร้อยละ 20

20.00
3 เพื่อลดอัตราป่วยและตายของผู้ป่วยไข้เลือดออกให้น้อยลง และควบคุมอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ได้ไม่เกินเกณฑ์ที่กระทรางสาธารณสุขกำหนด

พฤติกรรมการป้องกันโรคของกลุ่มเป้าหมายมีการเปลี่ยนแปลงในทางถูกต้องเพื่่มจากเดิม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจต่อโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80

10.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 อบรม 50 2,150.00 -
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 รณรงค์ 0 0.00 -
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 ควบคุมป้องกันโรค 0 20,000.00 -
รวม 50 22,150.00 0 0.00

1.เตรียมการด้านเอกสาร และประสานงานเครือข่าย 2.จัดอบรมฟื้นฟูให้ความรู้ ความเข้าใจ การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนแก่กลุ่มเป้าหมายแกนนำ ผู้นำชุมชน และ อสม. 3.กิจกรรมบูรณาการร่วมกันทุกภาคส่วนในการพัฒนาสิ่งแวดล้อม และร่วมกันควบคุมและป้องกันโรคอย่างต่อเนื่อง 4.กิจกรรมรณรงค์ด้วยมาตรการ 5 ป 1 ข 3 เก้บ และสำรวจลูกน้ำยุงลาย รวมทั้งเฝ้าระวังติดตามสุ่มประเมินค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย 5.จัดนิทรรศการให้ความรู้และประชาสัมพันธ์ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกทั้งในสถานบริการและชุมชน 6.กิจกรรมพ่นหมอกควันในโรงเรียน รวมถึงกรณีมีผู้ป่วยในหมู่บ้าน 7.จัดกิจกรรมรณรงค์ สร้างกระแส เพื่อเสริมปัจจัยแวดล้อมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนร่วมกับภาคีเครือข่าย 8.ประเมินความพึงพอใจต่อกระบวนการดำเนินโครงการและมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่พึงประสงค์ ทั้งระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน สามารถร่วมมือในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างเข้มแข็ง ต่อเนื่อง และยั่งยืน และยังควบคุมอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ได้ไม่เกินเกณฑ์ที่แระทรวงสาธารณสุขกำหนด

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2563 15:25 น.