โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2563 ”
ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสาววัชรียา ปาละกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2563
ที่อยู่ ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3367-1-10 เลขที่ข้อตกลง 21/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 28 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3367-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2563 - 28 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ปี2562 ข้อมูล ณ วันที่ 24 ธันวาคม 2562 มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในภาคใจ้โดยเฉพาะในเขตบริการของสำนักงานควบคุมและป้องกันโรคทีึ่ 12 สงขลา มีผู้ป่วย จำนวน 9,455 ราย 190.62 ต่อแสนประชากร และมีผู้เสียชีวิต จำนวน 10 ราย 0.11 ต่อแสนประชากร จังหวัดพัทลุง มีผู้ป่วย 1,747 ราย 346.06 ต่อแสนประชากร อำเภอศรีบรรพต จำนวน 41 ราย อัตราป่วย 227.42ต่อแสนประชากร
จากการรายงานโรคไข้เลือดออก อำเภอศรีบรรพต ตั้งแต่ พ.ศ.2558-2562 ดังนี้ ปี 2558 จำนวน 14 ราย อัตราป่วย 78.66 ต่อแานประชากร ปี 2559 จำนวน 23 รายอัตราป่วย 129.23 และ ปี2560 จำนวน 24 ราย อัตราป่วย 134.85 ต่อแสนประชากร ปี 2561 จำนวน 51 ราย คิดเป้นอัตราป่วย 286.55 ต่อแสนประชากร ปี 2562 จำนวน 41 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 227.42 ต่อประชากรแสนคน และหมู่ที่ 6 7 9 ตำบลเขาย่า จำนวน 8 ราย อัตราป่วย 123.32 ต่อแสนประชากร ถึงแม้ทีม SRRT ตำบลเขาย่าจะดำเนินการเฝ้าระวังโรคอย่างจริงจังและต่อเนื่อง แต่ไม่สามารถควบคุมโรคได้ จึงจำเป้นต้องติดตามและเพิ่มมาตรการให้เข้มวงดมากขุ้ึน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกครัวเรือน และบุคลากรในหน่วยงานต่างๆ มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควลคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง
- เพื่อรณรงค์กำจัด ควบคุมหรือมีพฤติกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงยายในชุมชน วัด สถานบริการ สาธารณสุข และโรงเรียน ตามเกณฑ์
- เพื่อลดอัตราป่วยและตายของผู้ป่วยไข้เลือดออกให้น้อยลง และควบคุมอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ได้ไม่เกินเกณฑ์ที่กระทรางสาธารณสุขกำหนด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ และการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน
- ทำลายแหล่งเพาะพันธู์ยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียนและประกวดหมู่บ้านปลอดลูกน้ำ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
2.ประชาชนให้ความร่วมมือในการควบคุมและป้องกัน
3.มีการทำายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงบายภายในบ้านชุมชน โรงเรียนน้อยลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกครัวเรือน และบุคลากรในหน่วยงานต่างๆ มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควลคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชน ได้รับความรู้ความเข้าใจและมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม ป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 80
0.00
100.00
2
เพื่อรณรงค์กำจัด ควบคุมหรือมีพฤติกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงยายในชุมชน วัด สถานบริการ สาธารณสุข และโรงเรียน ตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ สามารถลด ค่า HI CI ภายในบ้าน ชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง ร้อยละ 80
0.00
0.00
3
เพื่อลดอัตราป่วยและตายของผู้ป่วยไข้เลือดออกให้น้อยลง และควบคุมอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ได้ไม่เกินเกณฑ์ที่กระทรางสาธารณสุขกำหนด
ตัวชี้วัด : ลดอัตราการป่วยและตายด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน 79 ต่อแสนประชากร
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
110
110
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
30
40
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
80
70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกครัวเรือน และบุคลากรในหน่วยงานต่างๆ มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควลคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อรณรงค์กำจัด ควบคุมหรือมีพฤติกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงยายในชุมชน วัด สถานบริการ สาธารณสุข และโรงเรียน ตามเกณฑ์ (3) เพื่อลดอัตราป่วยและตายของผู้ป่วยไข้เลือดออกให้น้อยลง และควบคุมอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ได้ไม่เกินเกณฑ์ที่กระทรางสาธารณสุขกำหนด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ และการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน (2) ทำลายแหล่งเพาะพันธู์ยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียนและประกวดหมู่บ้านปลอดลูกน้ำ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2563 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3367-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาววัชรียา ปาละกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2563 ”
ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสาววัชรียา ปาละกุล
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3367-1-10 เลขที่ข้อตกลง 21/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 28 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3367-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2563 - 28 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ปี2562 ข้อมูล ณ วันที่ 24 ธันวาคม 2562 มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในภาคใจ้โดยเฉพาะในเขตบริการของสำนักงานควบคุมและป้องกันโรคทีึ่ 12 สงขลา มีผู้ป่วย จำนวน 9,455 ราย 190.62 ต่อแสนประชากร และมีผู้เสียชีวิต จำนวน 10 ราย 0.11 ต่อแสนประชากร จังหวัดพัทลุง มีผู้ป่วย 1,747 ราย 346.06 ต่อแสนประชากร อำเภอศรีบรรพต จำนวน 41 ราย อัตราป่วย 227.42ต่อแสนประชากร จากการรายงานโรคไข้เลือดออก อำเภอศรีบรรพต ตั้งแต่ พ.ศ.2558-2562 ดังนี้ ปี 2558 จำนวน 14 ราย อัตราป่วย 78.66 ต่อแานประชากร ปี 2559 จำนวน 23 รายอัตราป่วย 129.23 และ ปี2560 จำนวน 24 ราย อัตราป่วย 134.85 ต่อแสนประชากร ปี 2561 จำนวน 51 ราย คิดเป้นอัตราป่วย 286.55 ต่อแสนประชากร ปี 2562 จำนวน 41 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 227.42 ต่อประชากรแสนคน และหมู่ที่ 6 7 9 ตำบลเขาย่า จำนวน 8 ราย อัตราป่วย 123.32 ต่อแสนประชากร ถึงแม้ทีม SRRT ตำบลเขาย่าจะดำเนินการเฝ้าระวังโรคอย่างจริงจังและต่อเนื่อง แต่ไม่สามารถควบคุมโรคได้ จึงจำเป้นต้องติดตามและเพิ่มมาตรการให้เข้มวงดมากขุ้ึน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกครัวเรือน และบุคลากรในหน่วยงานต่างๆ มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควลคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง
- เพื่อรณรงค์กำจัด ควบคุมหรือมีพฤติกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงยายในชุมชน วัด สถานบริการ สาธารณสุข และโรงเรียน ตามเกณฑ์
- เพื่อลดอัตราป่วยและตายของผู้ป่วยไข้เลือดออกให้น้อยลง และควบคุมอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ได้ไม่เกินเกณฑ์ที่กระทรางสาธารณสุขกำหนด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ และการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน
- ทำลายแหล่งเพาะพันธู์ยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียนและประกวดหมู่บ้านปลอดลูกน้ำ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 80 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก 2.ประชาชนให้ความร่วมมือในการควบคุมและป้องกัน 3.มีการทำายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงบายภายในบ้านชุมชน โรงเรียนน้อยลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกครัวเรือน และบุคลากรในหน่วยงานต่างๆ มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควลคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชน ได้รับความรู้ความเข้าใจและมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม ป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 80 |
0.00 | 100.00 |
|
|
2 | เพื่อรณรงค์กำจัด ควบคุมหรือมีพฤติกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงยายในชุมชน วัด สถานบริการ สาธารณสุข และโรงเรียน ตามเกณฑ์ ตัวชี้วัด : ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ สามารถลด ค่า HI CI ภายในบ้าน ชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง ร้อยละ 80 |
0.00 | 0.00 |
|
|
3 | เพื่อลดอัตราป่วยและตายของผู้ป่วยไข้เลือดออกให้น้อยลง และควบคุมอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ได้ไม่เกินเกณฑ์ที่กระทรางสาธารณสุขกำหนด ตัวชี้วัด : ลดอัตราการป่วยและตายด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน 79 ต่อแสนประชากร |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 110 | 110 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 80 | 70 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกครัวเรือน และบุคลากรในหน่วยงานต่างๆ มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควลคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อรณรงค์กำจัด ควบคุมหรือมีพฤติกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงยายในชุมชน วัด สถานบริการ สาธารณสุข และโรงเรียน ตามเกณฑ์ (3) เพื่อลดอัตราป่วยและตายของผู้ป่วยไข้เลือดออกให้น้อยลง และควบคุมอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ได้ไม่เกินเกณฑ์ที่กระทรางสาธารณสุขกำหนด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ และการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน (2) ทำลายแหล่งเพาะพันธู์ยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียนและประกวดหมู่บ้านปลอดลูกน้ำ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2563 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3367-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาววัชรียา ปาละกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......