กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขัน


“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (หลักสูตรการทำลูกประคบสมุนไพร) ”

ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณี เจ๊ะง๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (หลักสูตรการทำลูกประคบสมุนไพร)

ที่อยู่ ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5301-63-03-005 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (หลักสูตรการทำลูกประคบสมุนไพร) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (หลักสูตรการทำลูกประคบสมุนไพร)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (หลักสูตรการทำลูกประคบสมุนไพร) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5301-63-03-005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อหลังและเอวเป็นอาการที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ หลายคนอาจสงสัยว่าอาการเหล่านี้เกิดขึ้นจากอะไร ทั้งๆที่พวกท่านก็ไม่ได้ทำงานหนัก ทำไมจึงมีอาการปวดหลังได้ง่ายกว่าคนทั่วไป บางครั้งมีอาการมากจนทำให้การใช้ชีวิตประจำวันไม่มีความสุข ลุกก็โอยนั่งก็โอย จนทำให้หลายคนอดคิดไม่ได้ว่าถ้าเราอยู่ในช่วงสงอายุก็คงจะมีปัญหาไม่แตกต่างกัน โดยส่วนใหญ่อาการปวดเมื่อยในผู้สูงอายุ จะเป็นกันมากบริเวณหลัง คอ เอว น่อง และข้อต่างๆ เรียกได้ว่าแทบจะปวดเมื่อยทั้งตัว ซึ่งอาการปวดเมื่อยที่พบบ่อย ได้แก่ ปวดเมื่อยล้าที่มีสามเหตุจากกล้ามเนื้อ ซึ่งมักจะบอกตำแหน่งเจาะจงไม่ชัด ปวดเมื่อยจากเส้นเอ็นร้อยหวาย ปวดจากเส้นประสาทกดทับ มักมีอาการชา ปวดเเสบปวดร้อน ร้าวไปตามเส้นประสาท เช่นถ้าเกิดการกดทับเส้นประสาทหลัง จะปวดร้าวลงไปถึงน่องและปลายเท้า หรือบริเวณคอ เมื่อเส้นประสาทถูกกดทับ จะปวดร้าวลงไปที่แขนและมือ นอกจากนี้ ยังมีการปวดเมื่อยเนื่องจากเส้นเลือดขอด พบบ่อยบริเวณขาเมื่อต้องยืนนานๆ อาการปวดจกข้อต่อต่างๆ เช่น ข้อเข่า ข้อเท้า ถ้ามีการลงน้ำหนักก็จะปวด เดินก็ปวด พับหรืองอก็ปวด และอาจมีบวมแดงร่วมด้วย สรุปได้ว่าอาการปวดเมื่อยเรื้อรัง ของผู้สูงอายุว่าเป็นที่ใดกันมากที่สุด ก็คงหนีไม่พ้นการปวดหลัง เอวที่เกิดขึ้นตามวัย เพราะข้อรับน้ำหนักตัวมากเกินไป หรือมีการบาดเจ็บ ทำให้กระดูกอ่อนตรงผิวข้อต่อสึกกร่อน และมีกระดูกงอก เพราะมีหินปูนมาเกราะขรุขระ เวลาเคลื่อนไหวจึงทำให้ปวดได้ และถ้าเป็นโรคกระดูกพรุน ก็จะทำให้กระดูกเกิดการทรุดตัว โดยเฉพาะกระดูกไขสันหลัง กระดูกสะโพก กระดูกคอ อาการปวดส่วนหลังนี้จะทรมานมาก เพราะคนเราต้องใช้ขาเดินไปไหนมาไหน หากเดินแล้วเจ็บ คงรู้สึกอึดอัดและลำบากพอสมควร ดังนั้นในผู้สูงอายุที่มีภาวะกระดุกหลังเสื่อม แพทย์จึงแนะนำให้ใช้ผ้า support ช่วยพยุงแผ่นหลัง ในบางคนการใช้ไม้เท้าช่วยพยุงตัวเดิน ก็จะลดการรับน้ำหนักของกระดูกลงไปได้บ้าง ส่วนการปวดข้อมักจะปวดมากเวลาเปลี่ยนท่า นั่ง ยืน การขึ้นลงบันได หรือมักปวดตอนกลางคืน ปวดเวลาอากาศเย็นชื้น หรืออากาศเปลี่ยนแปลง ดังนั้นผู้สูงอายุจึงจำเป็นต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษ ตามนโยบายรัฐบาล ซึ่งเน้นการดำเนินการด้านสาธารณสุขเชิกรุกให้ทั่วถึงและครอบคลุมทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสภาพ และการพัฒนาการบริการบริการสาธารณสุข โดยเน้นการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ดังนั้นชมรมผู้สูงอายตำบลควนขันได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าว และ ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ให้สามารถดำรงชีวิตอยู่กับครอบครัวและบุตรหลานอย่างปกติสุขในสังคมและมีสุขภาพสมบูรณ์ตามควรแก่วัย จึงได้จัดทำ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (หลักสูตรการทำลูกประคบสมุนไพร) ขึ้น เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอันจะส่งผลให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลและส่งเสริมให้มีสุขภาพที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้รับความรู้เกี่ยวกับการประกอบอาชีพอิสระ
  2. 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ให้แก่ตนเอง และครอบครัวได้
  3. 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สร้างคุณค่าให้กับตนเอง และสังคม
  4. 4.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง
  5. 5. เพื่อส่งเสริมทักษะชีวิต
  6. 6.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถพึ่งตนเอง ไม่เป็นภาระต่อลูกหลานและสังคม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการทำลูกประคบสมุนไพร 2.กลุ่มเป้าหมายสามารถทำลูกประคบสมุนไพรใช้เองหรือทำขายได้ 3.กลุ่มเป้าหมายใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีคุณค่าต่อตัวเองและสังคม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้รับความรู้เกี่ยวกับการประกอบอาชีพอิสระ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ให้แก่ตนเอง และครอบครัวได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สร้างคุณค่าให้กับตนเอง และสังคม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 5. เพื่อส่งเสริมทักษะชีวิต
ตัวชี้วัด :
0.00

 

6 6.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถพึ่งตนเอง ไม่เป็นภาระต่อลูกหลานและสังคม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้รับความรู้เกี่ยวกับการประกอบอาชีพอิสระ (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ให้แก่ตนเอง และครอบครัวได้ (3) 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สร้างคุณค่าให้กับตนเอง และสังคม (4) 4.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง (5) 5. เพื่อส่งเสริมทักษะชีวิต (6) 6.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถพึ่งตนเอง ไม่เป็นภาระต่อลูกหลานและสังคม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (หลักสูตรการทำลูกประคบสมุนไพร) จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5301-63-03-005

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรรณี เจ๊ะง๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด