กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขัน


“ โครงการผู้สูงอายุควนขัน ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจช่องปาก ”

ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางมีน๊ะ ทิพมณี กรรมการชมรมผู้สูงอายุ ตำบลควนขัน

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุควนขัน ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจช่องปาก

ที่อยู่ ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5301-63-03-007 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงอายุควนขัน ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจช่องปาก จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุควนขัน ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจช่องปาก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงอายุควนขัน ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจช่องปาก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5301-63-03-007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาหลักในผู้สูงอายุยังคงเป็นการสูญเสียฟันผู้สูงอายุ และการสูญเสียฟันยังคงเพิ่มขึ้นต่อเนื่องตามอายุจนเมื่ออายุ 80-89 ปี พบสูญเสียฟันทั้งปาก ทั้งนี้อาจจะเนื่องมาจากมีการรณรงค์ใส่ฟันทั้งปากเพื่อการเคี้ยวอาหารอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2558 จนถึงปัจจุบัน ผู้สูงอายุแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพการบดเคี้ยวที่ลดลงชัดเจน แม้จำนวนฟันแท้ใช้งานในกลุ่มผู้สูงอายุตอนต้นจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากการสำรวจครั้งก่อนๆ แต่ฟันแท้ที่เหลืออยู่นี้ยังมีปัญหารอยโรคและความผิดปกติในช่องปากที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลที่เหมาะสมเพื่อป้องกันและชะลอความเจ็บปวดและการสูญเสียฟันที่จะส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่สำคัญ ได้แก่ 1. โรคปริทันต์อักเสบที่มีการทำลายของกระดูกรองรับรากฟันร่วมด้วย พบร้อยละ 32.1 โดยร้อยละ 11.4 เป็นโรคปริทันต์อักเสบที่อยู่ในระดับรุนแรงมาก (มีร่องลึกปริทันต์ตั้งแต่ 6 มม. ขึ้นไป) ซึ่งเสี่ยงต่อการอักเสบ ปวดบวม ฟันโยกและการสูญเสียฟัน 2. ฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 48.3 3. รากฟันผุ เป็นปัญหาที่สัมพันธ์กับเหงือกร่น ซึ่งจะพบมากที่สุดในวัยผู้สูงอายุ ร้อยละ 17.2 ซึ่งปัญหาดังกล่าวนอกจากจะเป็นผลจากพฤติกรรมสุขภาพทั้งในเรื่องของการทำความสะอาดช่องปาก ที่พบว่า ผู้สูงอายุมีการแปรงก่อนนอน ร้อยละ 65.5 มีการใช้อุปกรณ์เสริมในการแปรงฟัน ได้แก่ ไหมขัดฟัน แปรงอกฟัน เพียงร้อยละ 2.7 และ 1.1 ตามลำดับ และการไปรับบริการในปีที่ผ่านมา ร้อยละ 34.2 ซึ่งเหตุผลที่ไปสูงสุด ร้อยละ 44.4 คือรู้สึกว่ามีอาการปวดหรือเสียวฟันเกิดขึ้นแล้ว การรักษาจึงเป็นการถอนฟันหรือการเก็บรักษาฟันมีความยุ่งยากซับซ้อนหลายขั้นตอน ทำให้ผู้สูงอายุไม่สามารถมารับบริการต่อเนื่องได้ ทำให้เกิดการสูญเสียฟันในที่สุด ดังนั้นประเด็นที่ควรให้ความสำคัญสำหรับกลุ่มผู้สูงอายุ นอกจากการสื่อสารความรู้ ให้เข้าใจและตระหนักในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองที่ถูกต้อง ซึ่งช่องทางหลักที่ทั้งสองกลุ่มได้รับข้อมูลสูงสุด คือการสื่อสารผ่านบุคลากรสาธารณสุข และผ่านทางสื่อโทรทัศน์แล้ว การสนับสนุนให้มีการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรค การรับบริการรักษาตั้งแต่ระยะแรกเริ่ม จึงเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็นในการลดการสูญเสียฟัน พร้อมกับการใส่ฟันบางส่วนและทั้งปากเพื่อทดแทนฟันที่สูญเสียไป ขณะเดียวกันในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ได้มีการเชื่อมต่อเครือข่าย/ระบบบริการ และการสนับสนุนการจัดบริการใส่ฟันเทียมแก่ผู้สูงอายุทั่วประเทศ ในโครงการฟันเทียมพระราชทานโดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าซึ่งตอบสนองความต้องการเร่งด่วนของผู้สูงอายุ ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลควนขัน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จึงได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุควนขัน ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจช่องปาก ปีงบประมาณ 2563 ขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเป็นการพัฒนารูปแบบการให้บริการเชิงรุกแก่ผู้สูงอายุของงานทันตกรรม
  2. 2. เพื่อให้ผลการดำเนินงานทันตสาธารณสุขได้ผลตามตัวชี้วัด
  3. 3.ผู้สูงอายุได้รับการใส่ฟันเทียมพระราชทาน
  4. 4. ผู้สูงอายุได้รับการอบรมดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ทันตสุขศึกษาแก่ผู้สูงอายุ ตรวจสุขภาพช่องปาก และเคลือบฟลูออไรด์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุตำบลควนขันได้รับการตรวจสภาวะช่องปาก และได้รับบริการทันตกรรมที่เหมาะสม ร้อยละ 80
  2. ผู้สูงอายุ ได้ทำฟันเทียมพระราชทาน ร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย
  3. ชมรมผู้สูงอายุเข้าร่วมโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก จำนวน 1 ชมรม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเป็นการพัฒนารูปแบบการให้บริการเชิงรุกแก่ผู้สูงอายุของงานทันตกรรม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผลการดำเนินงานทันตสาธารณสุขได้ผลตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.ผู้สูงอายุได้รับการใส่ฟันเทียมพระราชทาน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4. ผู้สูงอายุได้รับการอบรมดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเป็นการพัฒนารูปแบบการให้บริการเชิงรุกแก่ผู้สูงอายุของงานทันตกรรม (2) 2. เพื่อให้ผลการดำเนินงานทันตสาธารณสุขได้ผลตามตัวชี้วัด (3) 3.ผู้สูงอายุได้รับการใส่ฟันเทียมพระราชทาน (4) 4. ผู้สูงอายุได้รับการอบรมดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ทันตสุขศึกษาแก่ผู้สูงอายุ ตรวจสุขภาพช่องปาก และเคลือบฟลูออไรด์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงอายุควนขัน ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจช่องปาก จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5301-63-03-007

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมีน๊ะ ทิพมณี กรรมการชมรมผู้สูงอายุ ตำบลควนขัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด