กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์


“ โครงการติดตามและเฝ้าระวังผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุกในชุมชนคอหงส์ 3 ปี 2563 ”

ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางภาวินี สุวรรณะ

ชื่อโครงการ โครงการติดตามและเฝ้าระวังผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุกในชุมชนคอหงส์ 3 ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7257-2-39 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการติดตามและเฝ้าระวังผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุกในชุมชนคอหงส์ 3 ปี 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการติดตามและเฝ้าระวังผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุกในชุมชนคอหงส์ 3 ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการติดตามและเฝ้าระวังผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุกในชุมชนคอหงส์ 3 ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7257-2-39 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,400.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ รวมทั้งยังเป็นโรคที่เราเรียกว่า “ภัยเงียบ” ที่ส่งผลกระทบต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาต ตามมา ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายให้มีการจัดการดูแลสุขภาพเชิงรุก โดยการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังสภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพ สำหรับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง พร้อมทั้งให้ดำเนินการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคที่มีภาวะแทรกซ้อนในอวัยวะที่สำคัญของร่างกายหลายระบบ เช่น ตา ไต หัวใจ เท้า เป็นต้น จาก การดำเนินงานคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในกลุ่มอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ของชุมชนคอหงส์ ๓ ซึ่งมีประชาชนในกลุ่มอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป จำนวน ๕๘๑คนในปี ๒๕๖๒กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน ๓๔๙คน คิดเป็นร้อยละ ๖๐ ผลการคัดกรองปกติ จำนวน๒๕๕คน คิดเป็นร้อยละ ๗๓.๐๖อยู่ในกลุ่มเสียง จำนวน๘๙คนคิดเป็นร้อยละ๒๕.๕๐ กลุ่มสงสัยป่วย๕คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๔๓ กลุ่มป่วย ๔๗คน คิดเป็น ๘.๐๘และได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน๓๔๙ คน ผลการคัดกรองปกติ๒๓๕ คนคิดเป็นร้อยละ ๖๗.๓๓อยู่ในกลุ่มเสี่ยง ๑๐๒คน คิดเป็นร้อยละ ๒๙.๒๒กลุ่มสงสัยป่วย ๑๒คนคิดเป็นร้อยละ ๓.๔๓ กลุ่มป่วย ๖๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๓๒ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มต่อการเพิ่มขึ้น เนื่องจากวิถีชีวิตและวัฒนธรรมในการดูแลสุขภาพ การบริโภคอาหารหวาน มัน เค็มและอาหารจานด่วนของคนในชุมชนคอหงส์ ๕ ซึ่งเป็นชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบท มีสถานที่จำหน่ายอาหารที่หาได้ง่าย จากการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพ พบว่ามีกลุ่มเสี่ยงที่มีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร หวาน มัน เค็ม ร้อยละ๖๕ไม่ออกกำลังกาย ร้อยละ ๕๕ มีการดื่มสุรา ร้อยละ ๓๕และสูบบุหรี่ ร้อยละ ๒๕ส่วนใหญ่นิยมรับประทานอาการแกงถุง อาหารนอกบ้าน และมีงานเทศกาลต่างๆ มากกมาย ทำให้ไม่มีเวลาในการออกกำลังกาย หรือดูแลตนเองไม่มีการคำนึงถึงพลังงานที่ควรได้รับ ส่งผลให้มีการสะสมไขมัน เกิดภาวะอ้วนลงพุงเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงตามมา จากข้อมูลดังกล่าว ของชุมชนคอหงส์ ๓ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา พบว่าจำนวนกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มสูงขึ้นทั้งนี้เป็นผลจากการคัดกรองได้ครอบคลุมมากขึ้นแต่ขณะเดียวกัน หากผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคจากผลการคัดกรองไม่ตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีอย่างต่อเนื่อง ทำให้แนวโน้มการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น และเมื่อมีความเจ็บป่วยเพิ่มขึ้นทำให้ประชาชนเกิดความเครียด ซึ่งจะสามารถนำไปสู่การเจ็บป่วยทางด้านจิตใจได้ในอนาคต และในกลุ่มที่ป่วยแล้วต้องมีการดำเนินการไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่อไปจึงได้จัดโครงการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุกในชุมชนคอหงส์ ๓ ปี ๒๕๖๓ ซึ่งมีกิจกรรมหลักในการคัดกรองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและเพิ่มทักษะการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี สำหรับกลุ่มประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปให้สามารถดูแลตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรคทั้งด้านร่างกายและจิตใจ และในกลุ่มที่เป็นโรคได้รับการดูแลและรักษาได้อย่างทันท่วงทีและได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เพื่อเป็นการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อติดตามและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่มีภาวะเสี่ยง ไม่ให้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อติดตามและสร้างแรงจูงในในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน และอบรม อสม.ในชุมชน
  2. กิจกรรมเฝ้าระวังและติดตามกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. สรุปผลการดำเนินงาน
  4. กิจกรรมจัดหาครุภัณฑ์ในการดำเนินงาน
  5. กิจกรรมจัดหาวัสดุในการดำเนินงาน
  6. ประชุมคณะกรรมการในการดำเนินงาน
  7. กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการฯ
  8. อบรมฟื้นฟูความรู้
  9. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  10. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  11. ประชุมคณะกรรมการในการสรุปผลดำเนินงาน
  12. จัดทำเอกสารส่ง สปสช.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชากรกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตามและฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ ๕๐
๒. ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพิ่มขึ้นร้อยละ ๘๐
๓. ประชากรกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้องสม่ำเสมอ สามารถกลับสู่ภาวะปกติมากกว่าร้อยละ ๒๐ และกลุ่มเสี่ยงทุกคนได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะกรรมการในการดำเนินงาน

วันที่ 18 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการในการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 20 คน

 

20 0

2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการฯ

วันที่ 18 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการฯ

 

0 0

3. อบรมฟื้นฟูความรู้

วันที่ 19 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมฟื้นฟูความรู้ และเพิ่มสมรรถนะให้แก่ อสม.เพื่อเพิ่มทักษะในการดำเนินการติดตามและ  ฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน โดยเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน ๑ วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-อสม. มีความรู้ มีทักษะ ในการติดตามและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตได้ดีขึ้น

 

10 0

4. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

วันที่ 28 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มสุรา (๓ อ. ๒ ส) สำหรับกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จำนวนที่เข้าร่วมกิจกรรม 40 คน
  • กลุ่มเสี่ยงได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง

 

50 0

5. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

วันที่ 16 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน ๓ ครั้ง
ครั้งที่ ๑ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๒ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๓ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๓

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จำนวนกลุ่มเสี่ยง 5๐ คน
  • การเกิดผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายใหม่ลดลง

 

50 0

6. จัดทำเอกสารส่ง สปสช.

วันที่ 21 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำเอกสารส่ง สปสช.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

7. ประชุมคณะกรรมการในการสรุปผลดำเนินงาน

วันที่ 21 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการในการสรุปผลดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน ๒๐ คน

 

20 0

8. กิจกรรมจัดหาวัสดุในการดำเนินงาน

วันที่ 24 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดหาวัสดุในการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. ค่าแถบตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน ๔ กล่อง
๒.ค่าเข็มเจาะเลือด จำนวน ๓ กล่อง
๓. ค่าสำลีแห้ง ๒ ถุง
๔. ค่าตลับวัดรอบเอว ๔ ตลับ
๕. ค่าแอลกอฮอล์ จำนวน ๒ ขวด
๖. สมุดบันทึกการตรวจสุขภาพและบันทึกความรู้ ๓ อ. ๒ ส. จำนวน ๔๐ เล่ม
๗. ค่าวัสดุ (ถุงผ้าใส่เอกสาร) จำนวน ๔๐ ถุง
๘. กล้องใส่อุปกรณ์ จำนวน ๒ กล่อง

 

0 0

9. กิจกรรมจัดหาครุภัณฑ์ในการดำเนินงาน

วันที่ 24 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดหาครุภัณฑ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ค่าครุภัณฑ์การแพทย์ ได้แก่
๑. เครื่องวัดความดันโลหิต จำนวน ๒เครื่อง
๒. เครื่องตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน ๒ เครื่อง
๓. เครื่องชั่งน้ำหนัก จำนวน ๑ เครื่อง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อติดตามและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามและคัดกรองโรคเบาหวาน ร้อยละ ๕๐ จำนวน ๕๐คน 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามและคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ ๕๐ จำนวน ๕๐ คน
0.00

 

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่มีภาวะเสี่ยง ไม่ให้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ ๕๐ 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้กลับสู่ภาวะปกติมากกว่าร้อยละ ๒๐ 3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
0.00

 

3 เพื่อติดตามและสร้างแรงจูงในในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเสี่ยงทุกคนได้รับการดูแลและติดตามร้อยละ ๑๐๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อติดตามและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่มีภาวะเสี่ยง ไม่ให้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อติดตามและสร้างแรงจูงในในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน และอบรม อสม.ในชุมชน (2) กิจกรรมเฝ้าระวังและติดตามกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (3) สรุปผลการดำเนินงาน (4) กิจกรรมจัดหาครุภัณฑ์ในการดำเนินงาน (5) กิจกรรมจัดหาวัสดุในการดำเนินงาน (6) ประชุมคณะกรรมการในการดำเนินงาน (7) กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการฯ (8) อบรมฟื้นฟูความรู้ (9) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (10) กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (11) ประชุมคณะกรรมการในการสรุปผลดำเนินงาน (12) จัดทำเอกสารส่ง สปสช.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการติดตามและเฝ้าระวังผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุกในชุมชนคอหงส์ 3 ปี 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7257-2-39

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางภาวินี สุวรรณะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด