กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง


“ เครือข่ายนมแม่ชุมชนบ้านแฉงแหวง ปี 63 ”

ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม. ม.5 บ้านแฉงแหวง

ชื่อโครงการ เครือข่ายนมแม่ชุมชนบ้านแฉงแหวง ปี 63

ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3065-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"เครือข่ายนมแม่ชุมชนบ้านแฉงแหวง ปี 63 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เครือข่ายนมแม่ชุมชนบ้านแฉงแหวง ปี 63



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องนมแม่ วิธีทำให้มีน้ำนมเพียงพอและวิธีการเก็บนม 2. เพื่อให้มารดามีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อชุดโมเดลสาธิตการให้นมแม่ (2) การประชุมเครือข่ายสุขภาพ เครือข่ายนมแม่บ้านแฉงแหวง หมู่ 5 ตำบลตุยง (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องนมแม่ (4) ติดตามเยี่ยมหลังคลอดโดยอสม.บ้านแฉงแหวง หมู่ที่ 5 ให้คำปรึกษาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) อสม.ขาดทักษะ ประสบการณ์ในการดำเนินงานในพื้นที่
        (2) หน่วยงานราชการในพื้นที่ เช่น โรงพยาบาลหนองจิก องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง หรือคณะกรรมการกองทุนฯ ตำบลตุยงเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน
            (3) การดำเนินงานต้องมีการประสานงานกับผู้นำศาสนา ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น หน่วยงานราชการในพื้นที่

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ควบคู่กับการส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆของทารก เป็นจุดเริ่มต้นและพื้นฐานสำคัญในการดูแลเด็ก เพื่อให้เด็กมีการเจริญเติบโตแข็งแรงสมบูรณ์ จากการศึกษาพบว่า นมแม่มีผลต่อพัฒนาการทางด้านกระบวนการรับรู้ การคิดของเด็ก ช่วยปกป้องทารกจากโรคติดเชื้อ และโรคเรื้อรังต่างๆ นอกจากนั้นยังพบว่าพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของเด็กที่กินนมแม่อย่างต่อเนื่อง จะมีเชาว์ปัญญาที่ดีกว่าเด็กที่กินนมผสม โดยพบว่า เด็กที่กินนมแม่มานาน 9 เดือน จะมีเชาว์ปัญญาเฉลี่ยอยุ่ที่ 104 สูงกว่ากลุ่มที่กินนมแม่น้อยกว่า 1 เดือน ซึ่งมีระดับเชาว์ปัญญาอยู่ที่ 94.4 ซึ่งสรุปได้ว่า ต้นทุนทางสมองที่ดีของเด็กแต่ละคน ขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่ได้รับนมแม่จากการดำเนินงานที่ผ่านมาพบอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ของชุมชุนบ้านแฉงแหวง หมู่ที่ 5 ตำบลตุยงในปีงบประมาณ 2562 อยู่ที่ร้อยละ 55 ดังนั้นการพัฒนาประชากรแม่และเด็กสู่ความยั่งยืน และการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างต่อเนื่อง จำเป็นต้องอาศัยการพัฒนาการดำเนินงานอย่างบูรณาการตามกระบวนการคุณภาพ เชื่อมโยนสู่ครัวเรือน และชุมชน เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ตลอดจนการสร้างความรัก ความอบอุ่น ให้เกิดสายใยรัก สายใยความผูกพันในครอบครัว จะส่งผลให้เด็กเติบโตเป็นคนดีมีคุณภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นให้การสนับสนุนช่วยเหลือกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดซื้อชุดโมเดลสาธิตการให้นมแม่
  2. การประชุมเครือข่ายสุขภาพ เครือข่ายนมแม่บ้านแฉงแหวง หมู่ 5 ตำบลตุยง
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องนมแม่
  4. ติดตามเยี่ยมหลังคลอดโดยอสม.บ้านแฉงแหวง หมู่ที่ 5 ให้คำปรึกษาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อให้เด็กได้รับนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ควบคู่กับอาหารเสริมจนอายุครบ 2 ปีหรือมากกว่า
    1. เพื่อสร้างกลุ่มแกนนำเครือข่ายนมแม่ในชุมชน
    2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด ครอบครัว ปู่ย่า ตายาย ผู้ดูแลเด็ก ตลอดจนแกนนำเครือข่ายในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
    3. เพื่อสร้างต้นแบบแม่ดีเด่นในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดซื้อชุดโมเดลสาธิตการให้นมแม่

วันที่ 1 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อชุดโมเดลสาธิตการให้นมแม่ เพื่อใช้ประกอบเป็นสื่อการเรียน การสอน ให้หญิงวัยเจริญพัันธ์ และหญิงหลังคลอด ตามกิจกรรมจัดอบรมและเยี่ยมหลังคลอด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการจัดซื้อชุดโมเดลสาธิตการให้นมแม่ประกอบด้วย 1. หมอนเด็ก จำนวน 3 ใบ 2. ตัวเบบี้ จำนวน 3 ตัว 3. ถุงเก็บน้ำนม จำนวน 3 กล่อง

 

0 0

2. การประชุมเครือข่ายสุขภาพ เครือข่ายนมแม่บ้านแฉงแหวง หมู่ 5 ตำบลตุยง

วันที่ 24 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมเครือข่ายสุขภาพ เครือข่ายนมแม่บ้านแฉงแหวง หมู่ 5 ตำบลตุยง เพื่อสร้างความเข้าใจและการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละร้อยเครือข่ายสุขภาพมีความเข้าใจในแนวคิดการปฏิบัติงาน และมีส่วนร่วมในการที่จะแก้ปัญหา

 

30 0

3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องนมแม่

วันที่ 31 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องนมแม่ ณ ศาลาอเนกประสงค์ของหมู่บ้าน โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลหนองจิก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละร้อยกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น

 

60 0

4. ติดตามเยี่ยมหลังคลอดโดยอสม.บ้านแฉงแหวง หมู่ที่ 5 ให้คำปรึกษาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

วันที่ 30 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามเยี่ยมหลังคลอดโดยอสม.ร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลหนองจิก ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม - 30 กันยายน 2563 หมู่ที่ 5 ให้คำปรึกษาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละร้อยหญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมบ้าน และการแนะนำในเรื่องของการให้นมลูกในเด็กแรกเกิด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผลการดำเนินงาน วัตถุประสงค์โครงการ
    1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องนมแม่ วิธีทำให้มีน้ำนมเพียงพอและวิธีการเก็บนม
    2. เพื่อให้มารดามีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน เพื่อให้โครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวจึงได้ดำเนินการดังนี้
  2. การประชุมเครือข่ายสุขภาพ เครือข่ายนมแม่บ้านแฉงแหวง หมู่ 5 ตำบลตุยง
      - ในวันที่ 24 กรกฎาคม 2563 ณ ศาลาอเนกประสงค์ บ้านแฉงแหวง มีการจัดประชุมเครือข่ายสุขภาพ ประกอบด้วย อสม. ผู้นำชุมชน แกนนำครอบครัว จำนวน 30 คน เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานและการจัดกิจกรรมต่างๆ
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องนมแม่   2.1 31 กรกฎาคม 2563 จัดอบรมหญิงวัยเจริญพันธ์ เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ และเป็นการส่งเสริมองค์ความรู้ด้านอนามัยแม่และเด็กโดยเฉพาะเรื่อคุณค่า และประโยชน์ของนมแม่ จากการอบรมพบว่า     2.1.1 ร้อยละร้อยของกลุ่มเป้าหมายมีความตั้งใจที่จะเรียนรู้เนื้อหาจากวิทยากรได้บรรยาย     2.1.2 จากการสอบถามพบว่าร้อยละร้อยของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น
  4. จัดซื้อชุดโมเดลสาธิตการให้นมแม่ เพื่อใช้ในการสอน สาธิต คุณแม่มือใหม่
  5. ติดตามเยี่ยมหลังคลอดโดยอสม.บ้านแฉงแหวง หมู่ที่ 5 ให้คำปรึกษาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่   - ได้มีการติดตามเยี่ยมหลังคลอดโดยเครือสุขภาพในพื้นที่ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อส่งเสริมองค์ความรู้เรื่องคุณค่าของนมแม่และวิธีการการให้นมแม่อย่างถูกต้อง และบริการด้านอนามัยแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง โดยมีหญิงหลังคลอดในพื้นที่ทั้งหมด จำนวน 6 ราย

  6. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ /• บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ............................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ...ทั้งหมด.........90............................................... คน

  7. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ................18,150.................. บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ................18,150................. บาท  คิดเป็นร้อยละ ......100............... งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .....................-........................... บาท  คิดเป็นร้อยละ ........-...................

  8. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน • ไม่มี     /• มี ปัญหา/อุปสรรค

    • อสม.ขาดทักษะ ประสบการณ์ในการดำเนินงานในพื้นที่
      แนวทางการแก้ไข
    • หน่วยงานราชการในพื้นที่ เช่น โรงพยาบาลหนองจิก องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง หรือคณะกรรมการกองทุนฯ ตำบลตุยงเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน

- การดำเนินงานต้องมีการประสานงานกับผู้นำศาสนา ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น หน่วยงานราชการในพื้นที่

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60 90
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องนมแม่ วิธีทำให้มีน้ำนมเพียงพอและวิธีการเก็บนม 2. เพื่อให้มารดามีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อชุดโมเดลสาธิตการให้นมแม่ (2) การประชุมเครือข่ายสุขภาพ เครือข่ายนมแม่บ้านแฉงแหวง หมู่ 5 ตำบลตุยง (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องนมแม่ (4) ติดตามเยี่ยมหลังคลอดโดยอสม.บ้านแฉงแหวง หมู่ที่ 5 ให้คำปรึกษาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) อสม.ขาดทักษะ ประสบการณ์ในการดำเนินงานในพื้นที่
        (2) หน่วยงานราชการในพื้นที่ เช่น โรงพยาบาลหนองจิก องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง หรือคณะกรรมการกองทุนฯ ตำบลตุยงเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน
            (3) การดำเนินงานต้องมีการประสานงานกับผู้นำศาสนา ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น หน่วยงานราชการในพื้นที่

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ เครือข่ายนมแม่ชุมชนบ้านแฉงแหวง ปี 63

รหัสโครงการ 63-L3065-2-05 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

เครือข่ายนมแม่ชุมชนบ้านแฉงแหวง ปี 63 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3065-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรม อสม. ม.5 บ้านแฉงแหวง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด