กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชัยบุรี


“ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสุวรัตน์ นพฤทธิ์

ชื่อโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3352-1-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชัยบุรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3352-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,518.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชัยบุรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสภาพสังคมในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้คนไทยเจ็บป่วยและตายด้วยโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ ที่มีสาเหตุมาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ ขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้อง การรับประทานอาหารที่มันจัด เค็มจัด หวานจัด รวมทั้งการรับประทานผัก ผลไม้ที่ไม่เพียงพอ ความเครียด และการดื่มสุรา จากข้อมูลผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2562 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากสระ กลุ่มเป้าหมาย 1,402 คน มีผู้เข้ารับการคัดกรองเบาหวาน จำนวน 1,281 คน คิดเป็นร้อยละ 91.37 พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่าน้ำตาลเกิน 100 mg%) จำนวน 383 คน คิดเป็นร้อยละ 29.89 ของผู้คัดกรองเบาหวานทั้งหมด และเป้าหมายความดันโลหิตสูง 1,183 คน คัดกรองได้ จำนวน 1,070 คน คิดเป็นร้อยละ 90.50 ของกลุ่มเป้าหมาย พบ กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง (ค่าความดันโลหิตเกิน 140/90 mm/Hg) จำนวน 135 คน คิดเป็นร้อยละ 11.41 ของผู้คัดกรองความดันโลหิตทั้งหมด ทั้งนี้ได้มีการจัดอบรมให้ความรู้ และให้สุขศึกษารายบุคล ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง ทำให้สามารถลดโรคได้ มีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่เพียง 17 คน คิดเป็นร้อยละ 4.44 ของกลุ่มเสี่ยงทั้งหมด และผู้ป่วยความดันรายใหม่ จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 16.29 จากกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงทั้งหมดซึ่งสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน ดังนั้นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงยังเป็นปัญหาสุขภาพในพื้นที่ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมยังเป็นกิจกรรมสำคัญที่สามารถลดการเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวได้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากสระ จึงเล็งเห็นความสำคัญของกลุ่มเสี่ยงในเขตพื้นที่รับผิดชอบ จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2563 ขึ้นเพื่อให้ประชาชนที่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและ ได้รับความรู้ เสริมสร้างทักษะกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดการเกิดโรครายใหม่ในเขตบริการต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. 2. เพื่อป้องกัน ลดอัตราการเกิดโรครายใหม่ในกลุ่มเสี่ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ค่าแถบเจาะน้ำตาลในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 100 คน
  2. 2.ค่าเข็มเจาะปลายนิ้วกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (200อัน/กล่อง)
  3. 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับการอบรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
  4. 4.ค่าสมนาคุณวิทยากรอบรมกลุ่มเสี่ยงครั้งที่ 1
  5. 5.ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2X2.4 เมตร จำนวน 1 ป้าย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีความตระหนักในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเอง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้องเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพเพื่อลดเสี่ยง ลดโรค ตลอดจนชุมชนมีศักยภาพเข้มแข็งในการดำเนินงานลดและควบคุมปัจจัยเสี่ยงเพื่อควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 4.ค่าสมนาคุณวิทยากรอบรมกลุ่มเสี่ยงครั้งที่ 1

วันที่ 24 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ วันที่ 20-24 กรกฎาคม 2563

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีวิทยากรอบรมให้ความรู้

 

0 0

2. 5.ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2X2.4 เมตร จำนวน 1 ป้าย

วันที่ 24 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ วันที่ 20-24 กรกฎาคม 2563

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีป้ายไวนิลโครงการ

 

0 0

3. 1.ค่าแถบเจาะน้ำตาลในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 100 คน

วันที่ 25 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามภาวะสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน วันที่ 21-25 กันยายน 2563

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีแถบเจาะน้ำตาลในเลือด

 

100 0

4. 2.ค่าเข็มเจาะปลายนิ้วกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (200อัน/กล่อง)

วันที่ 25 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามภาวะสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน วันที่ 21-25 กันยายน 2563

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเข็มเจาะปลายนิ้ว

 

0 0

5. 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับการอบรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง

วันที่ 25 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ วันที่ 20-24 กรกฎาคม 2563 และติดตามภาวะสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง วันที่ 21-25 กันยายน 2563

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีอาหารว่างและเครื่องดื่ม

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ดำเนินโครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ ร้อยละ 90
0.00 100.00

ร้อยละ 100

2 2. เพื่อป้องกัน ลดอัตราการเกิดโรครายใหม่ในกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : 2.อัตราผู้ป่วยรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 5
0.00 5.22

ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ร้อยละ 5.26 ผู้ป้วยเบาหวานรายใหม่ ร้อยละ 5.22

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) 2. เพื่อป้องกัน ลดอัตราการเกิดโรครายใหม่ในกลุ่มเสี่ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ค่าแถบเจาะน้ำตาลในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน  จำนวน 100 คน (2) 2.ค่าเข็มเจาะปลายนิ้วกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (200อัน/กล่อง) (3) 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับการอบรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง (4) 4.ค่าสมนาคุณวิทยากรอบรมกลุ่มเสี่ยงครั้งที่ 1 (5) 5.ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2X2.4 เมตร จำนวน 1 ป้าย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3352-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุวรัตน์ นพฤทธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด