กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รำแดง


“ เฝ้าระวังสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้าง จากการบริโภคพืชผักของประชาชนตำบลรำแดง ปี3 ”

ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรำแดง

ชื่อโครงการ เฝ้าระวังสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้าง จากการบริโภคพืชผักของประชาชนตำบลรำแดง ปี3

ที่อยู่ ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5299-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 พฤษภาคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวังสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้าง จากการบริโภคพืชผักของประชาชนตำบลรำแดง ปี3 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รำแดง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้าง จากการบริโภคพืชผักของประชาชนตำบลรำแดง ปี3



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวังสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้าง จากการบริโภคพืชผักของประชาชนตำบลรำแดง ปี3 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5299-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 พฤษภาคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รำแดง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วิถีการดำเนินชีวิตของประชาชนปัจจุบันส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรซึ่งจะอยู่ในวัยแรงงานจากสภาพเศรษฐกิจและสังคมยุคปัจจุบัน การแข่งขันให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรเพื่อให้มีกำไรมากที่สุด ใช้ระยะเวลาในการผลิตน้อยลงเกษตรกรจึงคิดค้นหาวิธีการใหม่ ๆรวมทั้งการใช้สารเคมีเพื่อเร่งผลผลิตหรือกำจัดศัตรูพืชอย่างแพร่หลายเป็นผลให้เกษตรกรมีความเสี่ยงที่จะได้รับสารเคมีเข้าสะสมในร่างกายและตกค้างในกระแสเลือดได้ซึ่งสารเคมีเหล่านี้มีทั้งที่ทำให้เกิดพิษต่อร่างกายทันทีอาจมีอาการเล็กน้อยถึงขั้นรุนแรงได้แก่อาการปวดศีรษะวิงเวียนศีรษะหน้ามืดตาลายปวดแน่นท้องบางรายมีอาการรุนแรง ได้แก่ ชักตับวายหัวใจวายและตายในที่สุด สารเคมีบางชนิดที่สะสมในร่างกายนานๆจะก่อพิษเรื้อรังทำอันตรายต่อตับ ไต กดภูมิคุ้มกันในร่างกาย ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนแก่เกษตรกรได้ง่าย ตำบลรำแดงพื้นที่ส่วนใหญ่ทำการเกษตรประชากรมีการปลูกผักไว้เพื่อบริโภคและจำหน่ายพร้อมทั้งยังมีการซื้อหาพืชผักจากนอกพื้นที่มารับประทานพืชผักที่ไปซื้อมาจากตลาดอาจมีการดูแลใส่ปุ๋ยและใช้ยาฆ่าแมลงซึ่งสารเคมีเหล่านี้เมื่อสะสมอยู่ในร่างกายในปริมาณที่มาก อาจก่อให้เกิดการสะสมจะเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรำแดงจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังสารเคมีในผู้บริโภคขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจสารตกค้างในกระแสเลือดและมีผลการตรวจอยู่ในระดับปลอดภัย ร้อยละ50 2.กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมด้านการบริโภคและการผลิตที่ถูกต้อง 3.ส่งเสริมการปลูกรางจืด และมะละกอไว้รับประทานในครัวเรือนเพื่อเป็นทางเลือกในการลดสารตกค้างในร่างกาย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การให้ความรู้ในการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะปราศจากสารเคมีและการเจาะเลือดเพื่อตรวจหาสารเคมี

    วันที่ 19 พฤษภาคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักลักษณะปราศจากสารเคมี 2. ผลตรวจหาสารเคมีในเลือดสามารถบอกถึงสถาวะสารเคมีตกค้างในเลือดของแต่ละคนได้ เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขต้อไป

     

    50 50

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภคพืชผักเข้ารับการตรวจสารตกค้าง จำนวน 50 คน มีผลการตรวจคัดกรองดังนี้ ผลเลือดปกติ 4 คน(8%)  ผลเลือดปลอดภัย 16 คน(32%) ผลเลือดเสี่ยง 25 คน (50%) ผลเลือดไม่ปลอดภัย 5 คน(10%)

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย
    ตัวชี้วัด : สามารถลดจำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตรายได้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    เฝ้าระวังสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้าง จากการบริโภคพืชผักของประชาชนตำบลรำแดง ปี3 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5299-13

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรำแดง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด