กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์


“ โครงการ ร่วมใจ ห่างไกลโรคไข้เลือดออกชุมชนบ้านปลักธง ”

ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางขวัญใจ สุขสวัสดิ์

ชื่อโครงการ โครงการ ร่วมใจ ห่างไกลโรคไข้เลือดออกชุมชนบ้านปลักธง

ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7257-2-36 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 พฤศจิกายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ร่วมใจ ห่างไกลโรคไข้เลือดออกชุมชนบ้านปลักธง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ร่วมใจ ห่างไกลโรคไข้เลือดออกชุมชนบ้านปลักธง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ร่วมใจ ห่างไกลโรคไข้เลือดออกชุมชนบ้านปลักธง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7257-2-36 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2563 - 30 พฤศจิกายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สำคัญซึ่งมียุงเป็นพาหนะนำโรคมักพบการระบาดของโรคในช่วงฤดูฝนและพบว่าประชาชนมีการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกกระจายไปทุกพื้นที่ ทั่วประเทศไทยโดยสถานการณ์โรคไข้เลือดออกตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31กรกฎาคม 2562สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลาได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวนทั้งสิ้น1,436ราย คิดเป็นอัตราป่วย 101.92 ต่อประชากรแสนคนมีรายงานผู้เสียชีวิต 1 รายโดยพบในเพศชาย 753 รายเพศหญิง683รายอัตราส่วนเพศชายต่ออัตราส่วนหญิงเท่ากับ 1 : 10 : 1 โดยกลุ่มอายุที่พบสูงสุด คือ กลุ่มอายุ 10 - 14 ปี คิดเป็นร้อยละ 332.18ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคือกลุ่มอายุ 5 - 9 ปี , 15 - 24 ปี , 0 - 4 ปี, 25 – 34 ปี , 45 – 54 ปี, 55 – 64 ปีและ 65 ปีขึ้นไปอัตราป่วยเท่ากับ 255.28 , 177.43109.63, 75.27 ,39.25,30.45,22.76 และ 17.44ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ
สำหรับเทศบาลเมืองคอหงส์ ซึ่งอยู่ในเขตอำเภอหาดใหญ่ ชุมชนบ้านปลักธง มี 118 ครัวเรือน ประชากร 1,564คนปี 62 พบผู้ป่วยจำนวน2รายการดูแลโรคไข้เลือดออกปัจจุบันมุ่งเน้นการป้องกันควบคุมโรคซึ่งเป็นวิธีการเป็นประโยชน์โดยอาศัยความร่วมมือของภาครัฐสนับสนุนด้านวิชาการ งบประมาณอุปกรณ์ เป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินโครงการแต่ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง ยั่งยืนมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ของแต่ละชุมชนดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขผู้นำชุมชนบ้านปลัดธงจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อไม่ให้มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกจึงต้องมีการป้องกันโดยการทำลายยุงและแหล่งเพาะพันธุ์โดยสร้างความเข้าใจตระหนักในความสำคัญจึงเกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย
  2. เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงเรื่องการเกิดโรคไข้เลือดออก
  3. เพื่อส่งเสริมครัวเรือนต้นแบบปลอดลูกน้ำยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้ประชาชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
  2. เพาะพันธุ์ต้นสมุนไพร ตะไคร้หอม และจัดทำตุ๊กตาไล่ยุง
  3. เดินรณรงค์ให้ความรู้โรคไข้เลือด- ออกทั้งวัน/กำจัดลูกน้ำยุงลาย เดือนละ 2 ครั้ง จำนวน 4 เดือน ทั้งหมด 8 ครั้ง
  4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี
  2. มีบ้านตัวอย่างและแหล่งเรียนรู้ชุมชน
  3. ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : 1. ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้านและบริเวณรอบ ๆ บ้าน
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงเรื่องการเกิดโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 1. มีครัวเรือนต้นแบบปลอดลูกน้ำยุงลาย อย่างน้อย 20 ครัวเรือน
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมครัวเรือนต้นแบบปลอดลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของประชาชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย (2) เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงเรื่องการเกิดโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อส่งเสริมครัวเรือนต้นแบบปลอดลูกน้ำยุงลาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ประชาชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก (2) เพาะพันธุ์ต้นสมุนไพร ตะไคร้หอม และจัดทำตุ๊กตาไล่ยุง (3) เดินรณรงค์ให้ความรู้โรคไข้เลือด- ออกทั้งวัน/กำจัดลูกน้ำยุงลาย เดือนละ 2 ครั้ง จำนวน  4  เดือน ทั้งหมด  8  ครั้ง (4) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ร่วมใจ ห่างไกลโรคไข้เลือดออกชุมชนบ้านปลักธง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7257-2-36

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางขวัญใจ สุขสวัสดิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด