กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุข สุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2563
รหัสโครงการ 2563/L5220/01/02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสามอ่าง ตำบลตะเครียะ
วันที่อนุมัติ 30 มกราคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 35,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.นางปฐมาพร พิทักษ์ 2.นางมณรธีร์ จิตจินดา 3. นางพัชรี เตี้ยนวล 4. นางวราภรณ์ เทพฉิม
พี่เลี้ยงโครงการ นายทนงศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2562 30 ก.ย. 2563 35,200.00
รวมงบประมาณ 35,200.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล การเปลี่ยนแปลงเป็นโอกาสในการสร้างนวัตกรรม การก้าวเข้าสู่ทศวรรษใหม่ “ทศวรรษแห่งนวัตกรรมสาธารณสุขมูลฐาน” ของประเทศไทยที่ยังคงยืนยันการพัฒนาที่เน้นคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและต้องการเห็นประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชน ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีจิตอาสา ศรัทธาในการพัฒนา การพัฒนางานสาธารณสุขมูลฐานในทศวรรษใหม่จะรวมกระบวนการพัฒนาสุขภาพอย่างเป็นระบบและยั่งยืน โดยมีหัวใจของความสำเร็จอยู่ที่การพัฒนาคน ให้สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ด้วยเหตุผล มีสติ รู้จักคิดมีวิธีที่ถูกต้องเพื่อการตัดสินใจบนพื้นฐานที่ถูกต้องเพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้ ดังนั้นในการขับเคลื่อนงานสาธารณสุขมูลฐาน ในรูปลักษณ์ใหม่ที่สร้างความสมดุลระหว่างรูปแบบการให้บริการกับรูปแบบการพัฒนาที่ต้องอาศัยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เป็นกระบวนการหรือตัวกลางที่จะนำไปสู่เป้าหมายสูงสุด อสม.ต้องเป็นผู้มีจุดหมายปลายทางในการทำงาน และมีบทบาทในการเป็นผู้นำในการบริหารนโยบายไปสู่การปฏิบัติ เพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับพื้นที่ เป็นผู้นำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งของตนเองและสร้างพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน ทั้งในงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาลเบื้องต้น ตลอดจนการเฝ้าระวังสุขภาพและคัดกรองผู้ป่วย และริเริ่มมาตรการทางสังคมใหม่ ที่จะมีผลต่อการขจัดหรือลดปัญหาทางสุขภาพ ด้วยการส่งเสริมให้เกิดการสร้างและใช้มาตรการทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนสร้างจิตสำนึกประชาชนในการเฝ้าระวังดูแลสุขภาพ เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม

อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจ ในการสร้างสุขภาพที่ถูกต้อง ร้อยละ 80

0.00
2 2. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขได้ฝึกปฏิบัติในบทบาทภาระกิจงานของอาสาสมัครสาธารณสุข

อาสาสมัครสาธารณสุขได้ฝึกปฏิบัติในบาทบาทภาระกิจงานที่ถูกต้อง ร้อยละ 80

0.00
3 3. ติดตามตรวจร้าชำ/ร้านอาหาร/แผงลอย ให้มีมาตรฐาน

ติดตามตรวจร้าชำ/ร้านอาหาร/แผงลอย ให้มีมาตรฐาน ร้อยละ 100

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 35,200.00 0 0.00
??/??/???? โครงการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุข สุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2563 0 35,200.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในการสร้างสุขภาพแบบองค์รมที่ถูกต้อง 2.อาสาสมัครสาธารณสุขได้ฝึกปฏิบัติในบทบาทภาระกิจงานได้อย่างถูกต้อง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ต.ค. 2562 00:00 น.