กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า


“ โครงการชุมชนร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก หมู่ที่ 5 บ้านท่าขาม ประจำปี 2563 ”

ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัจฉรา เต้งหลี

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก หมู่ที่ 5 บ้านท่าขาม ประจำปี 2563

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5293-02-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก หมู่ที่ 5 บ้านท่าขาม ประจำปี 2563 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก หมู่ที่ 5 บ้านท่าขาม ประจำปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก หมู่ที่ 5 บ้านท่าขาม ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5293-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,990.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น ในอดีตที่ผ่านมากลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ ๗๐ - ๗๕ เป็นผู้ป่วยในกลุ่มอายุ ๕ - ๑๔ ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กวัยเรียนและการเกิดโรคมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน สำหรับสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกประเทศไทย ข้อมูลตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม – ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๒ มีรายงานผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประเทศไทยทั้งหมด ๑๒๕,๒๓๕ ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ ๑๘๘.๘๙ ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยเสียชีวิต ๑๓๑ ราย คิดเป็นอัตราการตายเท่ากับ ๐.๒๐ ต่อแสนประชากร และมีอัตราการป่วยตายร้อยละ ๐.๑๐ ต่อแสนประชากร ในภาคใต้พบผู้ป่วยด้วยไข้เลือดออกทั้งหมด ๑๖,๑๖๖ ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ ๑๗๑.๔๙ ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยเสียชีวิต ๓๐ ราย คิดเป็นอัตราการตายเท่ากับ ๐.๓๒ ต่อแสนประชากร และมีอัตราการป่วยตายร้อยละ ๐.๑๙ ต่อแสนประชากร ในเขตสุขภาพที่ ๑๒ พบว่ามีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน ๙,๓๓๐ ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ ๑๘๘.๑๐ ต่อแสนประชากร และมีผู้ป่วยเสียชีวิตจำนวน 10 ราย คิดเป็นอัตราการตายเท่ากับ 0.20 ต่อแสนประชากร อัตราการป่วยตายร้อยละ 0.11 จัดอยู่ในเขตที่มีผู้ป่วย ลำดับที่ 6 ของประเทศไทย สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในจังหวัดสตูล พบว่ามีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 166 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 51.77 ต่อประชากรแสนคน ผู้ป่วยเสียชีวิต 0 ราย มีรายงานการป่วยโรคไข้เลือดในอำเภอทุ่งหว้า จำนวน 27 ราย พบมากในตำบลป่าแก่บ่อหิน นาทอนและตำบลขอนคลาน อัตราป่วยเท่ากับ 188.63, 141.92 และ 113.34 ตามลำดับ ในตำบลทุ่งหว้าหมู่ที่พบผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออกมากที่สุดในเขตพื้นที่ อบต.ทุ่งหว้า คือ หมู่ที่ 8 จำนวน 21 ราย ในหมู่ที่ 5 พบผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออก จำนวน 3 ราย และเป็นผู้ป่วยยืนยันโรคไข้เลือดออกจำนวน 1 ราย และมีแนวโน้มผู้ป่วยเพิ่มขึ้นในปี 2563 มาตรการการควบคุมโรคที่ได้ผลในขณะนี้ยังคงเป็นมาตรการการควบคุมยุงพาหะนำโรค ซึ่งเป็นการยากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียว ดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข และผู้นำชุมชนช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียน ชุมชน สถานที่ราชการต่างๆ การจัดหาสารฆ่าลูกน้ำ การพ่นหมอกควันและสารเคมี การกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำ และสำคัญที่สุดคือการรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด
ดังนั้น ประชาชนหมู่ที่ 5 บ้านท่าขาม ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ จึงจัดทำโครงการชุมชนร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก หมู่ที่ 5 บ้านท่าขาม ประจำปี ๒๕๖3 เพื่อร่วมกันดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือกออกในชุมชน ลดอัตราการป่วยและอัตราการตายของประชาชน ยุทธศาสตร์ของโครงการฯ เน้นให้ประชาชนตระหนักถึงการควบคุม กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทั้งที่บ้านและสถานที่ต่างๆภายในชุมชน และรู้ถึงอันตรายจากโรคไข้เลือดออก ซึ่งกิจกรรมที่ได้จัดขึ้น จะมีการจัดรณรงค์ร่วมกับชุมชน ให้ความรู้ถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก เพื่อความยั่งยืนในการมีส่วนร่วมการควบคุมกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านท่าขาม มีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและสามารถถ่ายทอดความรู้สู่คนในชุมชนได้
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้แกนนำชุมชน หมู่ที่ 5 บ้านท่าขาม เข้าร่วมในการทำกิจกรรมป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านท่าขาม มีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและสามารถถ่ายทอดความรู้สู่คนในชุมชนได้ 2.เพื่อให้แกนนำชุมชน หมู่ที่ 5 บ้านท่าขาม เข้าร่วมในการทำกิจกรรมป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านท่าขาม มีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและสามารถถ่ายทอดความรู้สู่คนในชุมชนได้
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ในเรื่องโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 80
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้แกนนำชุมชน หมู่ที่ 5 บ้านท่าขาม เข้าร่วมในการทำกิจกรรมป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีการป้องกัน ควบคุมโรคด้วยตนเอง และ สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ทำให้ลูกน้ำยุงลายในชุมชนลดการเพิ่มของจำนวนประชากรยุงลายในชุมชนได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านท่าขาม มีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและสามารถถ่ายทอดความรู้สู่คนในชุมชนได้ (2) ข้อที่ 2  เพื่อให้แกนนำชุมชน หมู่ที่ 5 บ้านท่าขาม เข้าร่วมในการทำกิจกรรมป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก หมู่ที่ 5 บ้านท่าขาม ประจำปี 2563 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5293-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอัจฉรา เต้งหลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด