กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใกล้บ้านใกล้ใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม หมู่ที่ ๙ บ้านวังพา ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ”

ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางภิญโญ บุญรัตน์

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใกล้บ้านใกล้ใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม หมู่ที่ ๙ บ้านวังพา ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2563-L5275-2-4 เลขที่ข้อตกลง 6/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใกล้บ้านใกล้ใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม หมู่ที่ ๙ บ้านวังพา ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใกล้บ้านใกล้ใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม หมู่ที่ ๙ บ้านวังพา ปีงบประมาณ ๒๕๖๓



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใกล้บ้านใกล้ใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม หมู่ที่ ๙ บ้านวังพา ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2563-L5275-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,353.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็ง เป็นปัญหาทุกประเทศทั่วโลก ในปัจจุบัน การควบคุมโรคมะเร็งมีเป้าหมาย เพื่อลดอุบัติการณ์ของการเกิดความทุกข์ทรมานและการตายจากโรคมะเร็ง โดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนา ประมาณร้อยละ ๘๐ ของผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกทั้งหมดในโลก จะมีสตรีที่เสียชีวิตจากโรคมะเร็งปากมดลูก ๒๓๑,๐๐๐ รายต่อปี และมากกว่าร้อยละ ๘๐ จะอยู่ในประเทศที่กำลังพัฒนา ปัจจุบันโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทยและมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น โรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทย คือ โรคมะเร็งตับ รองลงมาคือมะเร็งปอด มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ตามลำดับ ในประเทศไทย โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย มีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ ๖,๓๐๐ ราย พบมากที่สุดอายุระหว่างอายุ ๔๕-๕๐ ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม อัตราการอยู่รอด ๕ ประมาณร้อยละ ๖๐ จึงมีผู้ป่วยสะสมจำนานมาก คาดประมาณว่าจะมีผู้ป่วยใหม่และผู้ป่วยเก่าที่ต้องติดตามดูแลให้การรักษาไม่น้อยกว่า ๖๐,๐๐๐ คนทั่วประเทศ (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, ๒๕๕๐) สำหรับตำบลทุ่งตำเสา ในปี ๒๕๕๙ สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ ถึง ๖๐ ปี ในตำบล มีทั้งหมด ๔,๕๗๔ คน ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Pap Smear จำนวน ๕๕๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๐๙ (ค่าเป้าหมายร้อยละ ๖๐) ซึ่งถือว่าเป็นจำนวนที่น้อย บ้านวังพา หมู่ที่ ๙ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ได้จัดทำประชาคม ภายในหมู่บ้าน เพื่อค้นหาปัญหา ด้านสาธารณสุข พร้อมทั้งกำหนดให้มีวาระสุขภาพของหมู่บ้าน การสร้างวิถีสุขภาวะแก่ประชาชนชาวบ้านวังพา โดยพบปัญหาว่า หญิงสตรีอายุ ๓๐ -๖๐ ปี เข้าถึงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ได้น้อยมากและในปี ๒๕๖๓ โดยที่มะเร็งที่ป่วยเยอะที่สุดในผู้หญิง คือ มะเร็งเต้านม รองลงมาคือมะเร็งปากมดลูก เนื่องจาก การเข้าถึงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก น้อย หลายๆเหตุผล เช่น เดินทางไกลไม่สะดวกไป ไม่ตระหนักถึงภัยโรคมะเร็ง
อสม.บ้านวังพา เล็งเห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริม ให้ความรู้แก่ ผู้หญิงเพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพของประชาชนทางด้านนี้ จึงจัดทำเขียนโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการใกล้บ้านใกล้ใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ ๑. เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐–๖๐ปี ได้รับความรู้ผ่านเกณฑ์ เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกมะเร็งเต้านม อย่างน้อยร้อยละ ๘๐
  2. ข้อที่ ๒ เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐ – ๖๐ ปี มีทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองผ่านเกณฑ์การประเมิน
  3. ข้อที่ ๓. เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐ – ๖๐ ปี เข้าถึงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๐ – ๖๐ ปี ในพื้นที่ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ๒.สตรีกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกเพิ่มมากขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ ๑. เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐–๖๐ปี ได้รับความรู้ผ่านเกณฑ์ เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกมะเร็งเต้านม อย่างน้อยร้อยละ ๘๐
    ตัวชี้วัด : ๑. สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐–๖๐ปี มีความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกมะเร็งเต้านมผ่านเกณฑ์ประเมิน ร้อยละ ๘๐
    0.00

     

    2 ข้อที่ ๒ เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐ – ๖๐ ปี มีทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองผ่านเกณฑ์การประเมิน
    ตัวชี้วัด : ๒. สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐ – ๖๐ ปี ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองผ่านเกณฑ์ประเมิน ร้อยละ ๖๐
    0.00

     

    3 ข้อที่ ๓. เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐ – ๖๐ ปี เข้าถึงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
    ตัวชี้วัด : ๓. สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐-๖๐ ปี มาตามบัตรเชิญ ร้อยละ ๙๐
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑. เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐–๖๐ปี ได้รับความรู้ผ่านเกณฑ์ เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกมะเร็งเต้านม อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ (2) ข้อที่ ๒ เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐ – ๖๐ ปี มีทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองผ่านเกณฑ์การประเมิน (3) ข้อที่ ๓. เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐ – ๖๐ ปี เข้าถึงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใกล้บ้านใกล้ใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม หมู่ที่ ๙ บ้านวังพา ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 2563-L5275-2-4

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางภิญโญ บุญรัตน์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด