กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการโรคซึมเศร้ารู้ทันป้องกันได้
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์บริการสาธารณสุขในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 31 มีนาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 เมษายน 2563
งบประมาณ 28,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวเอียดศิริ เรืองภักดี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง
ละติจูด-ลองจิจูด 12.687538,101.194881place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2562 31 มี.ค. 2563 28,000.00
รวมงบประมาณ 28,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 430 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้า
42.00
2 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า
70.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์โรคซึมเศร้าในประเทศไทยกรมสุขภาพจิตรายงานว่ามี ผู้ป่วยร้อยละ๕ ของประชากรทั้งหมด หรือประมาณ ๓ ล้านคนและมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆแต่ในปัจจุบันพบว่าคนไทย ยังมีความรู้ความเข้าใจในโรคนี้น้อยและมักจะมีทัศนคติในทางลบ คิดว่าเป็นโรคจิตหรือบ้า ทำให้ไม่กล้ามารับการรักษาพบว่ามีการอัตราการเข้าถึงบริการและรับการรักษามีเพียงร้อยละ42.46 เท่านั้น ผู้ที่มีโรค ทางกายเรื้อรังที่ต้องใช้ระยะเวลานานในการดูแลรักษาต่อเนื่องตลอดไป ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยอย่างไม่สามารถหลีกเลี่ ยงได้ ส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดความเครียดและวิตกกังวล หากผู้ป่วยไม่สามารถจัดการกับความเครียดและความวิตกกังวลได้ จะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตที่รุนแรงขึ้น เกิดความท้อแท้ สิ้นหวัง เบื่อหน่าย จนนำไปสู่โรคซึมเศร้าได้ ดังนั้นการให้ความรู้กับผู้ที่มีโรคทางกายเรื้อรัง และบุคคล ในครอบครัวจึงเป็นการป้องกันด่านแรกในการรับมือกับโรคซึมเศร้า

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า

ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า

80.00
2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า

ร้อยละ80ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าเพิ่มขึ้น

42.00 80.00
3 เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที

ร้อยละ90ของผู้เข้ารับการอบรมที่พบความเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าได้รับการดูแลรักษาตามแนวทางการดูแล

90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 430 28,000.00 2 28,000.00
5 - 26 มี.ค. 63 อบรมให้ความรู้เรื่องโรคซึมเศร้า 430 28,000.00 28,000.00
5 - 26 มี.ค. 63 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า 0 0.00 0.00

คัดกรองและประเมินภาวะซึมเศร้า
อบรมให้ความรู้เรื่องโรคซึมเศร้า
ให้คำแนะนำรายบุคคลกรณีที่พบความเสี่ยงและส่งต่อตามสิทธิ์

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าเพิ่มขึ้น ผู้เข้ารับการอบรมได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้า ผู้เข้ารับการอบรมที่พบความเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าได้รับการดูแลรักษาตามแนวทางการดูแล

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ก.พ. 2563 14:43 น.