กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โรคซึมเศร้า เป็นกลุ่มอาการที่มีความผิดปกติของสมองที่มีผลกระทบต่อความนึกคิดอารมณ์ ความรู้สึก พฤติกรรมและสุขภาพกายแต่คนส่วนใหญ่มักคิดว่าโรคซึมเศร้าเป็นผลมาจากความผิดปกติของจิตใจสามารถแก้ไขให้หายได้ด้วยตนเอง โรคนี้เป็นโรคที่มีความสำคัญและร้ายแรงในระดับโลก ส่งผลกระทบต่อชีวิต ความเป็นอยู่ทุกด้านซึ่งหากปล่อยทิ้งไว้อาจบั่นทอนช่วงระยะเวลาของการมีชีวิตให้สั้นลง จากการศึกษาขององค์การอนามัยโลกคาดการณ์ภาวะของโรคโดยวัดความสูญเสียเป็นจำนวนปีที่ดำรงชีวิตอยู่อย่างมีสุขภาพที่ดี พบว่าภายในปี 2563โรคซึมเศร้าจะก่อให้เกิดให้เกิดความสูญเสียเป็นอันดับที่ 2รองจากโรคหัวใจและหลอดเลือด(กระทรวงสาธารณสุข,2559) ซึ่งจัดเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ   จากสถานการณ์โรคซึมเศร้าในประเทศไทยกรมสุขภาพจิตรายงานว่ามีผู้ป่วยร้อยละ๕ ของประชากรทั้งหมด หรือประมาณ ๓ล้านคนและมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆแต่ในปัจจุบันพบว่าคนไทยยังมีความรู้ความเข้าใจในโรคนี้น้อยและมักจะมีทัศนคติในทางลบคิดว่าเป็นโรคจิตหรือบ้า ทำให้ไม่กล้ามารับการรักษาจึงพบว่ามีการอัตราการเข้าถึงบริการและรับการรักษามีเพียงร้อยละ42.46 เท่านั้น ผู้ที่มีโรคทางกายเรื้อรังที่ต้องใช้ระยะเวลานานในการดูแลรักษาต่อเนื่องตลอดไปก่อให้เกิดผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยอย่างไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดความเครียดและวิตกกังวลหากผู้ป่วยไม่สามารถจัดการกับความเครียดและความวิตกกังวลได้จะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตที่รุนแรงขึ้น เกิดความท้อแท้สิ้นหวัง เบื่อหน่าย จนนำไปสู่โรคซึมเศร้าได้ ดังนั้นการให้ความรู้กับผู้ที่มีโรคทางกายเรื้อรัง และบุคคลในครอบครัวจึงเป็นการป้องกันด่านแรกในการรับมือกับโรคซึมเศร้ากองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองมาบตาพุดดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในการสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการสาธารณสุขฉะนั้น ศูนย์บริการสาธารณสุขเกาะกก กลุ่มงานศูนย์บริการสาธารณสุขสำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองมาบตาพุด มีภารกิจในการดูแลสุขภาพประชาชนทุกกลุ่มวัยในพื้นที่เทศบาลเมืองมาบตาพุด จึงได้จัดทำโครงการโรคซึมเศร้ารู้ทันป้องกันได้ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขในพื้นที่ให้มีคุณภาพประชาชนเข้าถึงการให้บริการและมีความพึงพอใจโดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกัน ควบคุมโรค โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า (3) เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า (2) มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคซึมเศร้า (3) ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคซึมเศร้าได้รับการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรจัดอย่างต่อเนื่อง และประเมินผลอย่างทันท่วงที

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ