กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ร่มไทร ประจำปี 2563
รหัสโครงการ 63-L2533-1-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองทุนหลักประกันสุขภาพสุขภาพ อบต.ร่มไทร
วันที่อนุมัติ 11 กุมภาพันธ์ 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 11 กุมภาพันธ์ 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 51,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายไพดี มะสาแม
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.048,101.759place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามที่องค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทร ได้ลงนามความร่วมมือจัดตั้งกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงเป็นการสมควรที่จะต้องกำหนดระเบียบการรับเงินการจ่ายเงินการเก็บรักษาการจัดทำบัญชีหรือทรัพย์สินกองทุนทั้งนี้เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเกิดความสะดวกคล่องตัวมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนและสอดคล้องกับสภาพการณ์นั้น กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทร จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทร เพื่อสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการสาธารณสุขในการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและฟื้นฟูสภาพสำหรับประชาชน โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาสในองค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทร ได้เข้าถึงบริการได้โดยง่ายสะดวกรวดเร็วและมีคุณภาพมาตรฐานบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุน และเพื่อให้การดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเกิดประสิทธิผลกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบานาเพื่อดูการดำเนินงานด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นวิทยาศาสตร์เชิงเกษตรและจัดการสุขภาพที่ได้รับการสนับสนุนดำเนินงานจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หาประสบการณ์จากกองทุนต้นแบบที่ประสบผลสำเร็จเพื่อระบบบริหารจัดการที่ดีต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)

25.00
2 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน

กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %

90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 จัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์เพื่อการดำเนินงานกองทุนฯ 0 32,600.00 32,600.00
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่กองทุนฯ 0 3,691.00 3,691.00
11 ก.พ. 63 ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1 12 3,600.00 3,600.00
18 มี.ค. 63 ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2 23 6,900.00 6,900.00
3 ก.ย. 63 ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3 14 4,200.00 4,200.00
รวม 49 50,991.00 5 50,991.00

ขั้นเตรียมการ 1. เตรียมเอกสารสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม
  2. ประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ขั้นดำเนินการ

กิจกรรมหลักที่ 1 กิจกรรมการบริหารและพัฒนากองทุนฯ
  กิจกรรมรอง 1.1 ประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
      - กิจกรรมย่อย 1.1.1 เตรียมเอกสารและวัสดุต่างๆในการประชุม
        1.1.2 เตรียมอาหารว่างและเครื่องดื่มของผู้เข้าร่วมประชุม
    1.2 ติดตามโครงการแต่ละโครงการของทีมงานหรืออนุกรรมการติดตาม
      - กิจกรรมย่อย 1.2.1 สรุปและรายงานผลการติดตามโครงการ
    1.3 รับการติดตามกองทุนหลักประกันสุขภาพจากพี่เลี้ยงกองทุนฯ
    1.4 การจัดทำแผนงานโครงการของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กิจกรรมหลักที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ   กิจกรรมรอง 2.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกองทุนฯ
      - กิจกรรมย่อย 2.1.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุนฯคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และที่ปรึกษา     2.2 - กิจกรรมย่อย 2.2.1 กิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และที่ปรึกษา

ขั้นประเมินผล 1. รายงานผลการดำเนินงาน 2. สรุปผลการดำเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. แผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  2. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ก.พ. 2563 16:08 น.