กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.1 จัดกิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันปัญหาออฟฟิศซินโดรมในกลุ่มวัยทำงาน ปี 2563
เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2563 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง อ.กันตัง จ.ตรัง โดยมีผู้เข้าฝึกอบรม ประกอบด้วย คณะผู้บริหาร พนักงานเทศบาล และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน จำนวน 59 ท่าน
1.1.1 ผลการฝึกอบรม
คณะผู้บริหาร พนักงานเทศบาล และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน มีองค์ความรู้และความเข้าใจเรื่องสาเหตุ และการป้องกันโรคออฟฟิศซินโดรม (Office Syndromes)
1.1.2 ผลการประเมินความพึงพอใจ
  ผู้เข้าฝึกอบรมมีความพึงพอใจต่อการจัดงานในระดับมาก - มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 93.39 และค่าเฉลี่ย (X ̅) 4.39 ระดับความพึงพอใจทั้งโครงการอยู่ในระดับ มาก
1.1.3 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1) ให้มีการจัดอบรมแบบนี้อีก 2) เพิ่มระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเป็นการฝึกปฏิบัติมากขึ้น 1.2 กิจกรรมขยับกาย ป้องกันภาวะออฟฟิศซินโดรม
1.2.1 จัดซื้อชุดเครื่องเสียงอเนกประสงค์ จำนวน 1 ชุด
1.2.2 จัดกิจกรรมขยับกาย ป้องกันภาวะออฟฟิศซินโดรม ให้แก่พนักงานเทศบาล ช่วงเช้าเวลา 10.30 - 10.45 น. และช่วงบ่ายเวลา 14.30 – 14.45 น. ครั้งละ 15 นาที ต่อเนื่อง 3 เดือน ทุกวันจันทร์ – ศุกร์ (กรกฎาคม – กันยายน 2563) 1.2.2.1 ผลการจัดกิจกรรม 1) ประชาชนกลุ่มวัยทำงานเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสมห่างไกลจากออฟฟิศซินโดรมและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) ส่งเสริมให้องค์กรจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงานอย่างปลอดภัย 3) สร้างหน่วยงานต้นแบบการเรียนรู้ “ทำงานปลอดภัย ห่างไกล Office Syndromes” 1.2.2.2 ผลการประเมินกิจกรรม
พนักงานเทศบาลมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) คิดเป็นร้อยละ 92.53

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างองค์ความรู้และความเข้าใจเรื่องสาเหตุ และการป้องกันโรคออฟฟิศซินโดรม (Office Syndromes)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มวัยทำงานเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสมห่างไกลจากออฟฟิศซินโดรมและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้องค์กรจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงานอย่างปลอดภัย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อสร้างหน่วยงานต้นแบบการเรียนรู้ “ทำงานปลอดภัย ห่างไกล Office Syndromes”
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 59
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50 59
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างองค์ความรู้และความเข้าใจเรื่องสาเหตุ และการป้องกันโรคออฟฟิศซินโดรม (Office  Syndromes) (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มวัยทำงานเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสมห่างไกลจากออฟฟิศซินโดรมและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อส่งเสริมให้องค์กรจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงานอย่างปลอดภัย (4) เพื่อสร้างหน่วยงานต้นแบบการเรียนรู้ “ทำงานปลอดภัย ห่างไกล Office Syndromes”

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมขยับกาย ป้องกันภาวะออฟฟิศซินโดรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh