กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ ลดเค็ม ลดเสี่่ยง ลดโรค บ้านช่องหาร ประจำปี 2563
รหัสโครงการ 63-L1519-2-18
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 3
วันที่อนุมัติ 17 มกราคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 13,140.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุมาลี ด้วงสุข
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.746,99.398place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.พ. 2563 30 ก.ย. 2563 13,140.00
รวมงบประมาณ 13,140.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อรณรงค์ลดการบริโภคเกลือในอาหาร

ลดการบริโภคเกลือในอาหาร

40.00
2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ เข้าใจและหลีกเลี่ยงพฤติกรรมการกินเค็มได้อย่างถูกต้อง

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ เข้าใจและหลีกเลี่ยงพฤติกรรมการกินเค็มได้อย่างถูกต้อง

40.00
3 .เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่

ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่

40.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 40 13,140.00 0 0.00
1 ก.พ. 63 - 30 ก.ย. 63 โครงการ ลดเค็ม ลดเสี่ยง ลดโรค บ้านช่องหาร ประจำปีงบประมาณ 2563 40 13,140.00 -
  1. ประชุม อสม.ในตำบลในการดำเนินกิจกรรมโครงการ
  2. เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติการดำเนินการ 3.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติการจัดทำโครงการ 4.ให้ความรู้เรื่องอันตรายของการบริโภคอาหารเค็ม และวิธีการใช้เครื่องตรวจวัด ความเค็มโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  3. จัดหาเครื่องตรวจวัดความเค็มสำหรับใช้ในการปฏิบัติงาน หมู่บ้านละ 1 เครื่อง
    6.อสม.รณรงค์ตรวจวัดความเค็มในอาหาร ในครัวเรือนที่รับผิดชอบและแจ้งผลการตรวจวัดให้ทราบ
    5 สรุปผลการดำเนินงาน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ลดการบริโภคเกลือในอาหาร 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ เข้าใจและหลีกเลี่ยงพฤติกรรมการกินเค็มได้อย่างถูกต้อง              3.ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ก.พ. 2563 15:16 น.