กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชัยบุรี


“ ป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสุวรัตน์ นพฤทธิ์

ชื่อโครงการ ป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3352-1-14 เลขที่ข้อตกลง 4/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"ป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชัยบุรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " ป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3352-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,368.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชัยบุรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากรายงานสถานการณ์โรคมะเร็งขององค์กรระหว่างประเทศเพื่อการวิจัยโรคมะเร็ง ขององค์การอนามัยโลก ในปี พ.ศ.2561 มีผู้ป่วยโรคมะเร็งรายใหม่เพิ่มขึ้นมากกว่า 18 ล้านคน และมีผู้เสียชีวิตจากโรคมะเร็งเพิ่มสูงขึ้นเป็น 9.6 ล้านคนภายในปีนี้ ในจำนวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตจากโรคมะเร็งเกินว่าครึ่งหนึ่งเป็นประชากรในทวีปเอเชียสำหรับในประเทศไทย รายงานสถานการณ์โรคมะเร็งปากมดลูกยังคงเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของสตรีในประเทศไทย ซึ่งพบมากเป็นอันดับ 2 ของโรคมะเร็งทั้งหมดของสตรี รองจากมะเร็งเต้า แต่ละปีจะพบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณ 10,000 ราย และเสียชีวิตจากการเป็นมะเร็งปากมดลูก 5,000 ราย อัตราการเสียชีวิตของสตรีไทยเพิ่มขึ้นจาก 7 คน/วัน เป็น 14 คน/วัน (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย, 2561) ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมาพบแพทย์เมื่อระยะของโรคมะเร็งเข้าสู่ในระยะลุกลามแล้ว การรักษาจึงเป็นไปได้ยาก ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาที่สูง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพทางร่างกาย และจิตใจของผู้ป่วยและญาติ โรคมะเร็งปากมดลูกสามารถรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยในระยะเริ่มแรกและได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 30-40 สามารถป้องกันได้ด้วยการลดพฤติกรรมเสี่ยง และหากได้รับการตรวจคัดกรองที่เหมาะสมจะสามารถป้องกันและหากตรวจพบได้รับการรักษาได้ทันท่วงที ดังนั้นการให้สตรีมีความรู้เรื่องอันตรายของโรคมะเร็งปากมดลูกและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น เห็นความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรกก็จะทำให้อัตราการป่วยและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกลดลง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากสระ ได้ดำเนินงานการป้องกันและคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในสตรีกลุ่มเป้าหมายมาอย่างต่อเนื่องทุกปี สตรีอายุ 30-60 ปี ในเขตรับผิดชอบ มีจำนวนทั้งหมด 577 คน อัตราความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2558 – 2562 เท่ากับ ร้อยละ 75 ซึ่งยังต้องดำเนินการคัดกรองในกลุ่มที่ยังไม่เคยได้รับการคัดกรองในช่วงระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา ให้ได้ร้อยละ 80 ภายในปีงบประมาณ 2562 ตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ ลดอัตราการป่วยและอัตราการตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกให้น้อยลง รู้เร็ว รักษาเร็ว ลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากสระ จึงจัดโครงการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกปี 2563 ขึ้น เป็นการทำงานเชิงรุกเพื่อสร้างองค์ความรู้ และกระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและตรวจคัดกรองอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 กลุ่มสตรีช่วงอายุ 30-60ปีในเขตรับผิดชอบรพสต.บ้านปากสระได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและสามารถไปถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
  2. 2 กลุ่มสตรีอายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
  3. 3 เพื่อการส่งต่อ/ติดตามเยี่ยมในรายที่ผิดปกติ แจ้งผลการตรวจคัดกรองให้สตรีที่ตรวจคัดกรอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรม จำนวน 150 คน
  2. 2.ค่าสมนาคุณวิทยากรในการอบรม
  3. 3.ค่ากระเป๋าใส่เอกสารวัสดุสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 150 ชุด
  4. 4.ค่าป้ายโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 150
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มเป้าหมายสตรีช่วงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและได้มีความรู้ และนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับผู้อื่น ให้ความสำคัญกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรม จำนวน 150 คน

วันที่ 14 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ วันที่ 13-14 กรกฎาคม 2563

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีอาหารว่างและเครื่องดื่ม

 

150 0

2. 3.ค่ากระเป๋าใส่เอกสารวัสดุสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 150 ชุด

วันที่ 14 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ วันที่ 13-14 กรกฎาคม 2563

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีกระเป๋าใส่เอกสาร

 

0 0

3. 2.ค่าสมนาคุณวิทยากรในการอบรม

วันที่ 14 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ วันที่ 13-14 กรกฎาคม 2563

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีวิทยากรให้ความรู้

 

0 0

4. 4.ค่าป้ายโครงการ

วันที่ 14 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ วันที่ 13-14 กรกฎาคม 2563

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีป้ายโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ดำเนินการบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 กลุ่มสตรีช่วงอายุ 30-60ปีในเขตรับผิดชอบรพสต.บ้านปากสระได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและสามารถไปถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ80 ของกลุ่มสตรีช่วงอายุ30-60ปีได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
0.00 100.00

ร้อยละ 100

2 2 กลุ่มสตรีอายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ80ของกลุ่มสตรีช่วงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
0.00 80.00

ร้อยละ 80

3 3 เพื่อการส่งต่อ/ติดตามเยี่ยมในรายที่ผิดปกติ แจ้งผลการตรวจคัดกรองให้สตรีที่ตรวจคัดกรอง
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ100 ที่มีอาการผิดปกติได้รับการส่งต่อโรงพยาบาลพัทลุง
0.00 100.00

ร้อยละ 100

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 150
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 กลุ่มสตรีช่วงอายุ 30-60ปีในเขตรับผิดชอบรพสต.บ้านปากสระได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและสามารถไปถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้ (2) 2 กลุ่มสตรีอายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก (3) 3 เพื่อการส่งต่อ/ติดตามเยี่ยมในรายที่ผิดปกติ แจ้งผลการตรวจคัดกรองให้สตรีที่ตรวจคัดกรอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรม จำนวน 150 คน (2) 2.ค่าสมนาคุณวิทยากรในการอบรม (3) 3.ค่ากระเป๋าใส่เอกสารวัสดุสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 150 ชุด (4) 4.ค่าป้ายโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3352-1-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุวรัตน์ นพฤทธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด