กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุนชนบ้านคลองหวะ 1
รหัสโครงการ 63-L7257-2-15
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขชุนชนบ้านคลองหวะ 1
วันที่อนุมัติ 3 กุมภาพันธ์ 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 กุมภาพันธ์ 2563 - 31 สิงหาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 39,225.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุมนกาญจน์ สุขศรีเมือง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 3 มี.ค. 2563 31 ส.ค. 2563 39,225.00
รวมงบประมาณ 39,225.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สำคัญซึ่งมียุงเป็นพาหนะนำโรค มักพบการระบาดช่วงฤดูฝนและมีการเจ็บป่วยกระจายไปทุกพื้นที่ทั่วประเทศไทย จากข้อมูลของสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค พบว่าสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ข้อมูล ณ 27 ธันวาคม 2559 มีผู้ป่วยรวมจำนวน 62,405 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 95.38 ต่อประชากรแสนคน สำหรับจังหวัดสงขลา ข้อมูลเดือนตุลาคม 2559 พบว่าเป็นจังหวัดที่มีอัตราป่วยสะสมสูงเป็นอันดับ ๓ ของประเทศมีผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวน ๓,๒๓๗ ราย อัตราป่วย ๒๓๐.๒๔ ต่อประชากรแสนคน เมื่อดูเป็นรายอำเภอพบว่าอำเภอหาดใหญ่ อำเภอจะนะ อำเภอสะเดา อำเภอเมือง มีจำนวนผู้ป่วยรวมกันสูงมากกว่า ร้อยละ ๕๐ ของจังหวัดสงขลา สำหรับเทศบาลเมืองคอหงส์ ซึ่งอยู่อำเภอหาดใหญ่ ปี ๒๕๕๙ ชุมชนบ้านคลองหวะ 1 มี 913 ครัวเรือน ประชากร 1,473 คน การดูแลโรคไข้เลือดออกปัจจุบันมุ่งเน้นการป้องกัน ควบคุมโรค ซึ่งเป็นวิธีการเป็นประโยชน์โดยอาศัยความร่วมมือของภาครัฐ สนับสนุนด้านวิชาการ งบประมาณ อุปกรณ์ เป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินโครงการแต่ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ของแต่ละชุมชน ก็คือประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน ในพื้นที่ต้องให้ความร่วมมือเข้าไปมีส่วนร่วมดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นอีก

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดโรคไข้เลือดอออก
  1. อัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลงร้อยละ 10
  2. ร้อยละ 80 ของประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
0.00
2 เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงการป้องกันโรคไข้เลือดออก

 

0.00
3 เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากโรคไข้เลือดออก

 

0.00
4 เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 39,225.00 3 39,225.00
3 ก.พ. 63 - 31 ส.ค. 63 ประชุมคณะทำงาน (อสม.ในชุมชน) 0 250.00 250.00
3 ก.พ. 63 - 31 ส.ค. 63 เดินรณรงค์ให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกทั้งวัน 0 9,300.00 9,300.00
3 ก.พ. 63 - 31 ส.ค. 63 สำรวจลูกน้ำยุงลาย 600 ครัวเรือน เพื่อหาค่า HI เดือนละ 2 ครั้ง จำนวน 4 เดือน ทั้งหมด 8 ครั้ง 0 29,675.00 29,675.00
  1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก/ปัจจัยเสี่ยง/การป้องกัน
  2. เดินรณรงค์สำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
  3. กำจัดแหล่งเพาะพันธุลูกน้ำยุงลาย
  4. ประชาสัมพันธ์โครงการและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก/ปัจจัยเสี่ยง/การป้องกัน
  2. ทราบจุดเสี่ยงที่จะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
  3. อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 10
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 ก.พ. 2563 23:20 น.