กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ คอหงส์ 6 ร่วมใจห่างไกลไข้เลือดออก ปี 2563
รหัสโครงการ 63-L7257-2-18
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนบ้านคอหงส์ 6
วันที่อนุมัติ 3 กุมภาพันธ์ 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 กุมภาพันธ์ 2563 - 31 สิงหาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 49,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางณัฐสุดา เกาะกาเหนือ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 3 ก.พ. 2563 31 ส.ค. 2563 49,200.00
รวมงบประมาณ 49,200.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สำคัญ ซึ่งมียุงเป็นพาหนะนำโรค มักพบการระบาดช่วงฤดูฝนและมีการเจ็บป่วยกระจายไปทุกพื้นที่ทั่วประเทศไทย จากข้อมูลของสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค พบว่าสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในจังหวัดสงขลาข้อมูล ณ วันที่ 2 กรกฎาคม 2560มีผู้ป่าวยไข้เลือดออก 2,417 รายอัตราการป่วย 17,052 ต่อประชาชนแสนคน เสียชีวิต 5 ราย อ.หาดใหญ่2 ราย อ.สะเดา2 ราย อ.รัตภูมิ1 ราย อัตราป่วยตายร้อยละ 0.21 จังหวัดสงขลายังมีอัตราป่วยสะสมของโรคไข้เลือดออกสูงสุดเป็นอันดับ 1 ของประเทศอีกด้วย อัตราการป่วยสูงสุดเท่ากับ 60.55 ต่อประชากรแสนคนจำนวนผู้ป่วย 5,601 ราย ข้อมูล เมื่อวันที่ 2 – 29เมษายน2560 กรมควบคุมโรค
สำหรับเทศบาลเมืองคอหงส์ซึ่งอยู่อำเภอหาดใหญ่ ปี 2559พบผู้ป่วย 158รายอัตราป่วย 28,862ต่อประชากรแสนคนเขตชุมชนบ้านคอหงส์มีประชากร 1,235ครัวเรือนประชากร3,058คน ปี 2560และปี 2561พบว่ามีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน1รายการดูแลโรคไข้เลือดออกปัจจุบันเน้นการป้องกันและควบคุมเป็นวิธีการที่มีประโยชน์โดยอาศัยความร่วมมือของภาครัฐสนับสนุนด้านวิชาการงบประมาณอุปกรณ์และเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินโครงการแต่ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนมีประสิทธิภาพสอดคล้องกันบริบทพื้นที่ของชุมชน ก็คือประชาชนอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านและผู้นำชุมชนในพื้นที่ต้องให้ความร่วมมือเข้าไปมีส่วนร่วมดังนั้นอสม.ชุมชนบ้านคอหงส์ 6จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนบ้านคอหงส์ 6

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนบ้านคอหงส์ 6
  1. ค่า House Indes (HI) < 10
  2. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก < 200 ต่อแสนประชากร
1.00
2 อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในชุมชนบ้าน คอหงส์ 6 ลดลง

 

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 300 49,200.00 2 49,200.00
3 ก.พ. 63 - 31 ส.ค. 63 ประชุม 100 4,500.00 4,500.00
3 ก.พ. 63 - 31 ก.ค. 63 ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ 200 44,700.00 44,700.00

๑. ประชุมแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านและผู้สนใจชี้แจงการทำโครงการ
๒. ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนในพื้นที่ ชี้แจงวิธีการเก็บข้อมูลอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านและประชาชนทราบ
๓. สำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายก่อนดำเนินโครงการ และหลังดำเนินโครงการ 2 ครั้ง โดยอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน
๔. สำรวจลูกน้ำยุงลายโดย อสม.และประชาชนทุกครัวเรือนในพื้นที่ เดือนละ 2 ครั้ง จำนวน 4 เดือน ทั้งหมด 8 ครั้ง
๕. รายงานผู้รับผิดชอบพื้นที่ทันที่เมื่อพบผู้ป่วยไข้เลือดออก และมีอาการ
๖. รณรงค์การมีส่วนร่วมของชุมชนในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย 1 ครั้ง เช่นการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในบ้านการจัดการขยะการใช้ทรายกำจัดกับภาชนะที่ไม่สามารถปิดฝาได้
๗. ให้ความรู้ประชาชนผ่านเสียงตามสายในหมู่บ้าน แผ่นพับ โปสเตอร์ เป็นต้น
๘. ประสานงานกับเทศบาลในการพ่นสารเคมีเพื่อควบคุมยุงตัวเต็มวัย
๙. ประชุมเพื่อติดตามงาน ปัญหา อุปสรรค และสรุปโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อัตราการป่วยจากโรคไข้เลือดออกลดลง 80 %
  2. บ้านเรือนสะอาด แหล่งเพาะพันธุ์ลดลง
  3. สภาพแวดล้อมในชุมชนดีขึ้นปลอดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ก.พ. 2563 00:08 น.