กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาข้าวเสีย


“ โครงการสร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมวัณโรคในพื้นที่ ”

ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายพงษ์ศักดิ์ เชาวน์วุฒิกุล

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมวัณโรคในพื้นที่

ที่อยู่ ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1475-01-09 เลขที่ข้อตกลง 12/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 พฤษภาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมวัณโรคในพื้นที่ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาข้าวเสีย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมวัณโรคในพื้นที่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมวัณโรคในพื้นที่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1475-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 พฤษภาคม 2563 - 30 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,615.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาข้าวเสีย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันนี้ประชาชนเริ่มมีวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปจากสังคมชนบทเริ่มเข้าสู่สังคมเมืองมากขึ้น ทำให้ประชาชนได้รับความสะดวกสบาย ซึ่งก่อให้เกิดโรคภัยมากมายทั้งโรคที่อุบัติใหม่และโรคที่ระบาดมานานแล้ว ซึ่งโรคต่างๆที่เกิดขึ้นได้มีความรุนแรงทำให้ประชาชนมีความวิตกกังวลกับโรคที่อุบัติขึ้นใหม่ วัณโรคเป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทย ในปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณ 120,000 บาท และผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน คาดว่าน่าจะมีประมาณ 2,200 ราย ซึ่งในจำนวนผู้ป่วยรายใหม่นี้มีผู้ป่วยเพียงประมาณ 70,000 ราย ที่ขึ้นทะเบียนรักษา และคาดว่ามีผู้ป่วยที่ยังไม่ขึ้นทะเบียนรักษาประมาณ 50,000 ราย ในส่วนผู้ป่วยประชากรต่างด้าว คาดว่ามีผู้ป่วยปีละประมาณ 2,000 ราย ผู้ต้องขังในเรือนจำ 1,407 รายกระทรวงสาธารณสุข ได้ให้ความสำคัญกับการแก้ปัญหาวัณโรค และได้เร่งรัดให้มีการยกระดับเป้าหมายลดโรค จากเดิมมุ่งเน้นการควบคุมการระบาดของโรค มุ่งไปสู่การยุติปัญหาวัณโรคในประเทศไทย โดยใน 5 ปี แรก ปี 2559-2563 มีเป้าหมายลดอัตราป่วยลงร้อยละ 20 หรือให้เหลือผู้ป่วยรายใหม่ประมาณ 96000 ราย และเป้าหมายระยะยาวคือให้อัตราป่วยรายใหม่ลดเหลือน้อยกว่า 10 ต่อประชากรแสนคน ประมาณ 7,000 ราย ใน 20 ปี ข้างหน้า โดยการรักษาวัณโรคค่อนข้างมีปัญหา เพราะคนไข้ต้องรับประทานยาทุกวันติดต่อกันเป็นเวลา 6 เดือน และถ้าขาดยาไปก็จะทำให้เชื้อโรคดื้อยาจนไม่อาจรักษาให้หายขาดได้ในที่สุด จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการค้นหาเชิงรุกและติดตามผู้ป่วยกินยาจนครบกำหนด พร้อมเฝ้าระวังปัญหาเชื้อวัณโรคดื้อยาเพิ่มสิทธิการตรวจติดตามผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา โดยกำหนดแนวทางการควบคุมโรคมุ่งเน้น ค้นให้พบ จบด้วยหาย พัฒนาเครือข่ายและระบบดูแลรักษา ดังนั้นเพื่อให้การป้องกันรักษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีต่อผู้ป่วยและชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาข้าวเสีย จึงได้จัดทำโครงการ โครงการเครือข่ายเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมวัณโรคในพื้นที่ในปีงบประมาณ 2563 เพื่อสามารถคัดกรองหากลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดโรคในชุมชนและสามารถเข้ารับการรักษาได้อย่างทันเวลา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของวัณโรคในหมู่บ้าน2.เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และผู้สัมผัสร่วมบ้าน3.อสม.มีความรู้เรื่องวัณโรคและการตรวจคัดกรองวัณโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน 71
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ร้อยละ 100 ของกลุ่มสัมผัสร่วมบ้าน กลุ่มเสี่ยงต่อวัณโรค ได้รับการตรวจคัดกรองวัณโรค 2.ร้อยละ100 ของกลุ่มที่สงสัยป่วยเป็นวัณโรคได้เข้ารับการตรวจวินิจฉัย 3.ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องวัณโรคและการตรวจคัดกรองวัณโรค


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของวัณโรคในหมู่บ้าน2.เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และผู้สัมผัสร่วมบ้าน3.อสม.มีความรู้เรื่องวัณโรคและการตรวจคัดกรองวัณโรค
    ตัวชี้วัด :
    1.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 121
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน 71
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของวัณโรคในหมู่บ้าน2.เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และผู้สัมผัสร่วมบ้าน3.อสม.มีความรู้เรื่องวัณโรคและการตรวจคัดกรองวัณโรค

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมวัณโรคในพื้นที่ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 63-L1475-01-09

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายพงษ์ศักดิ์ เชาวน์วุฒิกุล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด