กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอาหารเช้าเสริมพัฒนาการสมวัย เด็กไทยสุขภาพดี
รหัสโครงการ 63-L8421-02-20
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านบาโงกาเซาะ
วันที่อนุมัติ 13 กุมภาพันธ์ 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 16 พฤษภาคม 2563 - 30 สิงหาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 53,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอุสมาน อาแว
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวธัญลักษณ์ มโนกิตติพันธ์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.717,101.244place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (53,000.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กในโรงเรียนที่น้ำหนัก-ส่วนสูงน้อย
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้า 2. เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงเพิ่มขึ้น

นักเรียนมีน้ำหนัก-ส่วนสูงเพิ่มขึ้น

30.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 150 53,000.00 3 53,000.00
1 ก.ค. 63 ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงนักเรียน 50 0.00 0.00
1 - 25 ก.ค. 63 อาหารเช้า 50 53,000.00 53,000.00
25 ก.ย. 63 ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงจบโครงการ 50 0.00 0.00

1.ประชุมแต่งตั้งคณะดำเนินงาน
2.นำนักเรียนชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง
3.คัดแยกนักเรียนที่มีน้ำหนัก-ส่วนสูงน้อย 4.ประชุมชี้แจงโครงการให้แก่นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนที่มีปัญหาน้ำหนัก-ส่วนสูงน้อย 5.จัดอาหารเช้าให้แก่นักเรียนที่มีปัญหาน้ำหนัก-ส่วนสูงน้อยทุกวัน (ยกเว้นวันหยุดราชการ)
6.นำนักเรียนกลุ่มดังกล่าวชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง และเปรียบเทียบกับน้ำหนัก-ส่วนสูงก่อนเริ่มโครงการ
7.ประเมินผล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีประโยชน์
2.นักเรียนมีน้ำหนัก-ส่วนสูงเพิ่มขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.พ. 2563 10:46 น.