กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ อบรมแกนนำสุขภาพสร้างสุข ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
รหัสโครงการ 63-L7258-01-27
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ
วันที่อนุมัติ 14 กุมภาพันธ์ 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 300,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเยาวลักษณ์ บุญตามชู
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.01,100.474place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ แก้ไขถึงฉบับที่ 19 พ.ศ.2552 มาตรา 50 (7) มาตา ๕๓ (๑)มาตรา ๕๖ ๑) เทศบาลมีหน้าที่ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก ยาวชน ผู้สูงอายุและผู้พิการ พระราชบัญญัติกำหนด แผ่นและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒5๔๒ มาตรา ๑๖ให้เทศบาล เมืองพัทยาและองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง (๑๐) การสังคมสงเคราะห์และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรและผู้ด้อยโอกาส มาตรา ๑6 (๑๙)การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทหน้าที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะ ส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี มีการป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสภาพโดยให้บริการประชาชนภายใต้การมีส่วนร่วมของประชาชน ปัจจุบันสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ประชาชนเจ็บป่วยและตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือที่เรียกกันว่าโรควิถีชีวิตมีแนวนมเพิ่มมากขึ้นทุปี ได้แก่ โรความตันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรมะเร็ง โรคหลอดเลือดสมอง การเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวส่งผลกระทบต่อภาระค่าใช้จ่ายในการักกษาพยาบาล ทั้งในระดับ บุคคล ครอบครัว และประเทศ และส่งผลกระทบต่อความสุขและคุณภาพชีวิตของประชาชน ซึ่งปัญหาสุขภาพ ส่วนใหญ่มีปัจจัยมาจากพฤติกรมที่ไม่เหมาะสม ทั้งพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค พฤติกรรมของประชาชน ที่ไม่เหมาะสมดังกล่าว อาจมีพฤติกรรมเสี่ยงร่วม เช่น การสูบบุหรี่ดื่มสุรา ความเครียด ชาดการออกกำลังกาย การบริโภคอหารที่ไม่เหมาะสม ทั้งในสนของการบริโภคหวาน มั่น เค็มมากเกินไป การบริโภคผักผลไม้น้อย บริโภค อาหารไม่สะอาด ซึ่งเทศบาลนครหาดใหญ่เป็นพื้นที่หนึ่งที่ประสบปัญหาสาธารณสุขดังกล่าว และมีแนวโน้มประชาชนจะ เจ็บป่วยด้วยโรไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้นทุปี ดังนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ทกุภาคส่วนของสังคมต้องเร่งแก้ไชปัญหาเหล่านี้เพื่อให้ประชาชนตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการสร้างสุขภาพว่าว่อมสุภาพ ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับผิดชอบดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน โดยสร้างเสริมความเข้าใจให้กับประชาชนอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม เช่น การให้ความรู้แก่ประชาชน ให้มีการปรับปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายการปรับอารมณ์ความเครียด ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใหม่เป็นวิถีชีวิตที่ลดเสี่ยง ลดโรค ลดภาวะแทรกซ้อน ลดการตายและ ลดภาระคำใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ซึ่งแกนนำสุขภาพในชุมชนเป็นบุคลากรสาธารณสุขภาคประชาชน เป็นผู้นำ การเปลี่ยนแปลงทางด้านพฤติกรรมสุขภาพ เป็นบุคคลที่มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่ง ในการน้ำความรู้ ไปถ่ายทอดให้กับ สมาชิกในครอบครัวและประชาชนในชุมชน รวมทั้งเป็นแกนนำในการขับเคลื่อนการปรับปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่ถูกต้อง เหมาะสม ฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่ ได้เล็งเห็นถึง ความสำคัญของการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพด้วยตนเอง จึงได้จัดทำโครงการอบรบแกนนำสุขภาพสร้างสุขลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพและประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคไม่ ติดต่อรื้อรัง

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๘๐ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ความรู้ก่อน-หลังอบรบ

0.00
2 เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแล สุขภาพ ป้องกันการเจ็บป่วยด้วยตนเองและสามารถดูแล สุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้อย่างถูกต้อง

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๗๐ สามารถนำความรู้ไป ใช้ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้ และ อย่างถูกต้อง

0.00
3 เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดูแลสุขภาพและสร้างแกนนำ สุขภาพในชุมชน

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๖๐ มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๘๐ มีความพึงพอใจต่อ การเข้าร่วมโครงการในระดับมาก-มากที่สุด

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 340 300,000.00 1 50,260.50 249,739.50
14 ก.ย. 63 กิจกรรมอบรมความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม 340 300,000.00 50,260.50 249,739.50
รวมทั้งสิ้น 340 300,000.00 1 50,260.50 249,739.50

๑.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณ ๒.ประชุมคณะทำงาน เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุขและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนกรดำเนินโครงการ๓ ๓.ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ ๔.ดำเนินการตามโครงการ ๔๑ กิจกรรมที่๑ จัดอบรมความรู้เรื่องการดูแลสุขภพลดเสี่ยงลดโรค ปรับพฤติกรรม ๑วันจำนวน๒รุ่น ๔.๒ กิจกรรมที่๒ จัดกิจกรรมติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เดือนละ๑ครั้งต่อเนื่อง ๔เดือน จำนวน ๒ รุ่น วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ชั่งน้ำหนักประเมิน BM! วัดรอบเอ จัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายทุกรูปแบบ ติดตามโดยใช้แอพพลิเคชั่นออกกำลังกาย เดือนที่ ๔ คัดเลือกบุคคลตันแบบที่ประสบความสำเร็จ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๑๐ คน มอบเกียรติบัตร และจัดกิจกรมถอดบทเรียนจากบุคคลตันแบบเพื่อนำไปขยายลดต่อในชุมชน ๔๓ กิจกรรมที่๓กิจกรรมรณรงค์สร้างสุขลดเสี่ยงลดโรคฯ ในชุมชน โดยแกนนำสุขภาพ ลงพื้นที่ ดำเนินงานในชุมชน ได้แก่ การประชาสัมพันธ์ถ่ายทอดความรู้ และติดตาม เฝ้าระวังให้คำแนะน้ำที่เหมาะสมกับ ประชาชนกลุ่มเป้หมาย ประเมินพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ส่งต่อศูนย์บริการสาธารณสุขฯ ๔.๔ ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานให้ สปสช. เทศบาลนครหาดใหญ่ทราบ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความรู้และทักษะที่ถูกลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อรื้อรัง

๒. เครือข่ายและสร้างแกนนำสุขภาพในชุมชนมีความเข้มแข็งสามารถดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชนได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ก.พ. 2563 14:07 น.