กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

เป็นไปตามแผนงานโครงการและวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้เกิดผลสัมฤทธิ์ คุ้มค่ากับการใช้จ่ายในการดําเนินโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๒.๑.๑ เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร ร้านจำหน่ายอาหารและร้านขายเครื่องสำอางภายในเขตพื้นที่เป้าหมาย หน้า ๒ ๒.๑.๒ เพื่อเป็นการประกันคุณภาพของอาหารภายในเขตพื้นที่ตำบลนาเมืองเพชร ลดความเสี่ยงในการเกิดอันตรายและโรคภัยไข้เจ็บที่มีสาเหตุอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย รวมถึงสารปนเปื้อนในเครื่องสำอาง ๒.๑.๓ เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพของอสม. ในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ๒.๑.๔. เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายและความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักและเฝ้าระวังตนเองจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม และสารปนเปื้อนในเครื่องสำอาง
ตัวชี้วัด : ๑. อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัยมากกว่าร้อยละ ๘๐ ๒ ผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความปลอดภัยมากกว่าร้อยละ ๘๐
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 90 90
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๒.๑.๑  เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร ร้านจำหน่ายอาหารและร้านขายเครื่องสำอางภายในเขตพื้นที่เป้าหมาย  หน้า ๒                        ๒.๑.๒ เพื่อเป็นการประกันคุณภาพของอาหารภายในเขตพื้นที่ตำบลนาเมืองเพชร  ลดความเสี่ยงในการเกิดอันตรายและโรคภัยไข้เจ็บที่มีสาเหตุอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย รวมถึงสารปนเปื้อนในเครื่องสำอาง                      ๒.๑.๓ เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพของอสม. ในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน                      ๒.๑.๔. เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายและความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักและเฝ้าระวังตนเองจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม และสารปนเปื้อนในเครื่องสำอาง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๑ อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่อง  การเลือกซื้ออาหาร ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ใช้ในชีวิตประจำวัน  สะอาดปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน  แก่ ร้านค้า ร้านจำหน่ายเครื่องสำอาง  อสม./แกนนำเครือข่ายสุขภาพ (2) กิจกรรมที่  ๒ กิจกรรมดำเนินการตรวจสอบความสะอาดปราศจากเชื้อแบคทีเรีย สารปนเปื้อนของร้านขายอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร  การปนเปื้อนของสารเคมีในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh