โครงการส่งเสริมโภชนาการ ต้านภัยโรคซีด
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการ ต้านภัยโรคซีด ”
ตำบลบ้านนอก อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอนุพงษ์ ชำนิไพบูลย์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านนอก
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการ ต้านภัยโรคซีด
ที่อยู่ ตำบลบ้านนอก อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-L2996-01-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมโภชนาการ ต้านภัยโรคซีด จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนอก อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการ ต้านภัยโรคซีด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการ ต้านภัยโรคซีด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนอก อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L2996-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การมีภาวะโภชนาการและสุขภาพอนามัยที่ดีนั้นจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่แยู่ในครรภ์มารดาเพราะระยะตั้งครรภ์มีการสร้างเซล,์และเนื้อเยื่อต่างๆเกิดขึ้นมากกว่าปกติ เพราะอัตราการเติบโตของทารกในครรภ์สูงกว่าระยะอื่นๆของชีวิต ความต้องการสารอาหารและพลังงานจึงมีมากกวาระยะอื่นๆ ถ้ามารดาได้รับสารอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงในปริมาณที่เพียงพอ มารดาจะมีสุขภาพที่สมบูรณ์และให้กำเนิดทารกที่สมบูรณ์ด้วย นั่นคือแม่จะต้องมีภาวะโภชนาการที่ดี มีสุขภาพอนามัยที่ดี สุขภาพจิตที่ดี ในทางตรงข้ามถ้าแมได้รับสารอาหารที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เพียงพอจะส่งผลกระทบต่อเด็กที่เกิดออกมาทั้งด้านการเจริญเติบโต และพัฒนาการของร่างกายและสมอง เกิดปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และทารกแรกคลอด แท้งหรือตคลอดก่อนกำหนด ภาวะครรภ์เป็นพิษหรือภาวะความดันโลหิตสูง เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักตัวน้อย ซึ่งจะส่งผลต่อการเจริญเตอบโตและพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของเด็กต่อไปในอนาคตนอกจากนี้การฝากครรภ์มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นภาวะเสี่ยงของสุขภาพ ดังนั้นหญิงตั้งครรภ์จึงควรฝากครรภ์ตั้งแต่เนิ่นๆก่อน 12 สัปดาห์ หรือก่อน 3 เดือน และควรได้รับการตรวจตามนัดตลอดการตั้งครรภ์ เพราะการฝากครรภ์จะช่วยให้ทราบถึงภาวะเสี่ยงต่างๆที่เกิดขึ้น ช่วยลดอัตราเสี่ยงที่จะเกิดกับมารดาและทารกในครรภ์ เช่น ภาวะโลหิตจาง ตกเลือดหลังคลอด ซึ่งถ้าได้รับการรักษาและป้องกันจะทำให้ปลอดภัยทั้งแม่และลูก
ปัจจุบัน ข้อมูลอนามัยและเด็กตำบลบ้านนอก ยังมีปัญหาหลายอยางที่ต้องได้รับการแก้ไข เช่น พฤติกรรมการดูแลด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของหญิงตั้งครรภ์ การทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ การฝากครรภ์ไม่ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์มาตรฐาน หญิงตั้งครรภ์มารับฝากครรภ์ช้า ปัญหาโลหิตจาง ปัญหาภาวะโภชนาการของแม่และเด็ก ปัญหาทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนอกจึงไดจัดทำโครงการนี้ขึ้มาเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดีให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอด ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนในงานแม่และเด็ก อันจะสงผลให้ทารกแรกเกิดมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีพัฒนาการสมวัย ซึ่งจะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ทารกแรกคลอดน้ำหนักตามเกณฑ์ สุขภาพดีโภชนาการดี
- หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการดีไม่มีภาวะซีดก่อนคลอด
- เด็กอายุ 0-5 ปี หญิงวัยเจริญพันะ์ ได้รับการตรวจคัดกรองโรคโลหิตจาง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการที่ดี มีสุขภาพแข็งแรง ไม่มีภาวะซีดก่อนคลอด
- ทากแรกคลอดน้ำหนักตามเกณฑ์มากว่า 2500gm และมีสุขภาพที่ดี
- เด็ก 0 - 5 ปี ได้รับการคัดกรองโรคโลหิตจางและได้รับวิตามินเสริมธาตุเหล็ก
- หญิงวัยเจริญพันธ์ ได้รับการคัดกรองโรคโลหิตจางและได้รับยาเมดเสริมธาตุเหล็ก
- ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องโภชนาการตามวัยและโรคดลหิตจาง
- ชุมชนมีส่วนร่วมในงานอนามัยแม่และเด็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ทารกแรกคลอดน้ำหนักตามเกณฑ์ สุขภาพดีโภชนาการดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กแรกคลอดที่มีน้หนักน้อยกว่า 2500gmไม่เกินร้อยละ 7
0.00
2
หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการดีไม่มีภาวะซีดก่อนคลอด
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดน้อยกว่าร้อยละ 10
0.00
3
เด็กอายุ 0-5 ปี หญิงวัยเจริญพันะ์ ได้รับการตรวจคัดกรองโรคโลหิตจาง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของงเด็ก 0-5 ปี และหญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับการตรวจคัดกรองโรคโลหิตจาง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
300
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ทารกแรกคลอดน้ำหนักตามเกณฑ์ สุขภาพดีโภชนาการดี (2) หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการดีไม่มีภาวะซีดก่อนคลอด (3) เด็กอายุ 0-5 ปี หญิงวัยเจริญพันะ์ ได้รับการตรวจคัดกรองโรคโลหิตจาง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมโภชนาการ ต้านภัยโรคซีด จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-L2996-01-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอนุพงษ์ ชำนิไพบูลย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการ ต้านภัยโรคซีด ”
ตำบลบ้านนอก อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอนุพงษ์ ชำนิไพบูลย์
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลบ้านนอก อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-L2996-01-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมโภชนาการ ต้านภัยโรคซีด จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนอก อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการ ต้านภัยโรคซีด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการ ต้านภัยโรคซีด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนอก อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L2996-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การมีภาวะโภชนาการและสุขภาพอนามัยที่ดีนั้นจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่แยู่ในครรภ์มารดาเพราะระยะตั้งครรภ์มีการสร้างเซล,์และเนื้อเยื่อต่างๆเกิดขึ้นมากกว่าปกติ เพราะอัตราการเติบโตของทารกในครรภ์สูงกว่าระยะอื่นๆของชีวิต ความต้องการสารอาหารและพลังงานจึงมีมากกวาระยะอื่นๆ ถ้ามารดาได้รับสารอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงในปริมาณที่เพียงพอ มารดาจะมีสุขภาพที่สมบูรณ์และให้กำเนิดทารกที่สมบูรณ์ด้วย นั่นคือแม่จะต้องมีภาวะโภชนาการที่ดี มีสุขภาพอนามัยที่ดี สุขภาพจิตที่ดี ในทางตรงข้ามถ้าแมได้รับสารอาหารที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เพียงพอจะส่งผลกระทบต่อเด็กที่เกิดออกมาทั้งด้านการเจริญเติบโต และพัฒนาการของร่างกายและสมอง เกิดปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และทารกแรกคลอด แท้งหรือตคลอดก่อนกำหนด ภาวะครรภ์เป็นพิษหรือภาวะความดันโลหิตสูง เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักตัวน้อย ซึ่งจะส่งผลต่อการเจริญเตอบโตและพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของเด็กต่อไปในอนาคตนอกจากนี้การฝากครรภ์มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นภาวะเสี่ยงของสุขภาพ ดังนั้นหญิงตั้งครรภ์จึงควรฝากครรภ์ตั้งแต่เนิ่นๆก่อน 12 สัปดาห์ หรือก่อน 3 เดือน และควรได้รับการตรวจตามนัดตลอดการตั้งครรภ์ เพราะการฝากครรภ์จะช่วยให้ทราบถึงภาวะเสี่ยงต่างๆที่เกิดขึ้น ช่วยลดอัตราเสี่ยงที่จะเกิดกับมารดาและทารกในครรภ์ เช่น ภาวะโลหิตจาง ตกเลือดหลังคลอด ซึ่งถ้าได้รับการรักษาและป้องกันจะทำให้ปลอดภัยทั้งแม่และลูก
ปัจจุบัน ข้อมูลอนามัยและเด็กตำบลบ้านนอก ยังมีปัญหาหลายอยางที่ต้องได้รับการแก้ไข เช่น พฤติกรรมการดูแลด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของหญิงตั้งครรภ์ การทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ การฝากครรภ์ไม่ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์มาตรฐาน หญิงตั้งครรภ์มารับฝากครรภ์ช้า ปัญหาโลหิตจาง ปัญหาภาวะโภชนาการของแม่และเด็ก ปัญหาทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนอกจึงไดจัดทำโครงการนี้ขึ้มาเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดีให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอด ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนในงานแม่และเด็ก อันจะสงผลให้ทารกแรกเกิดมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีพัฒนาการสมวัย ซึ่งจะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ทารกแรกคลอดน้ำหนักตามเกณฑ์ สุขภาพดีโภชนาการดี
- หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการดีไม่มีภาวะซีดก่อนคลอด
- เด็กอายุ 0-5 ปี หญิงวัยเจริญพันะ์ ได้รับการตรวจคัดกรองโรคโลหิตจาง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 100 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 100 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการที่ดี มีสุขภาพแข็งแรง ไม่มีภาวะซีดก่อนคลอด
- ทากแรกคลอดน้ำหนักตามเกณฑ์มากว่า 2500gm และมีสุขภาพที่ดี
- เด็ก 0 - 5 ปี ได้รับการคัดกรองโรคโลหิตจางและได้รับวิตามินเสริมธาตุเหล็ก
- หญิงวัยเจริญพันธ์ ได้รับการคัดกรองโรคโลหิตจางและได้รับยาเมดเสริมธาตุเหล็ก
- ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องโภชนาการตามวัยและโรคดลหิตจาง
- ชุมชนมีส่วนร่วมในงานอนามัยแม่และเด็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ทารกแรกคลอดน้ำหนักตามเกณฑ์ สุขภาพดีโภชนาการดี ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กแรกคลอดที่มีน้หนักน้อยกว่า 2500gmไม่เกินร้อยละ 7 |
0.00 |
|
||
2 | หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการดีไม่มีภาวะซีดก่อนคลอด ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดน้อยกว่าร้อยละ 10 |
0.00 |
|
||
3 | เด็กอายุ 0-5 ปี หญิงวัยเจริญพันะ์ ได้รับการตรวจคัดกรองโรคโลหิตจาง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของงเด็ก 0-5 ปี และหญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับการตรวจคัดกรองโรคโลหิตจาง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 300 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 100 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 100 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ทารกแรกคลอดน้ำหนักตามเกณฑ์ สุขภาพดีโภชนาการดี (2) หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการดีไม่มีภาวะซีดก่อนคลอด (3) เด็กอายุ 0-5 ปี หญิงวัยเจริญพันะ์ ได้รับการตรวจคัดกรองโรคโลหิตจาง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมโภชนาการ ต้านภัยโรคซีด จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-L2996-01-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอนุพงษ์ ชำนิไพบูลย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......