กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพคนพิการ/ทุพลภาพ และผู้ด้อยโอกาส ในตำบลดุซงญอ ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุภาพร จิตราช

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพคนพิการ/ทุพลภาพ และผู้ด้อยโอกาส ในตำบลดุซงญอ

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2476-1-06 เลขที่ข้อตกลง 6/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพคนพิการ/ทุพลภาพ และผู้ด้อยโอกาส ในตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพคนพิการ/ทุพลภาพ และผู้ด้อยโอกาส ในตำบลดุซงญอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพคนพิการ/ทุพลภาพ และผู้ด้อยโอกาส ในตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2476-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 62,660.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คนพิการ หมายความว่า บุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพร่องทางการมองเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญาและการเรียนรู้หรือความบกพร่องอื่นใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่างๆ และมีความจำเป็นเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใด เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไป ประกอบกับ ปัจจุบันนี้ ปัญหาด้านเศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะวิกฤติ ทำให้มีผลกระทบต่อบุคคลทั่วไปรวมทั้งคนพิการที่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ จึงเป็นภาระต่อครอบครัวที่ต้องดูแลด้านต่าง ๆ ให้กับคนพิการ ส่วนหนึ่งผู้ดูแลผู้พิการยังขาดความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกายด้านจิตใจ ทำให้ผู้พิการบางคนมีความรู้สึกท้อแท้ เหนื่อยหน่ายต่อชีวิต ขาดกำลังใจในการดำรงชีวิต และไม่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 มาตรา 67 (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ประกอบกับพระราชบัญญัติกำหนดแผนและการขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (10) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส และแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2543 กำหนดให้ภารกิจด้านการสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส การจัดสวัสดิการสังคม เป็นภารกิจที่ต้องถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และอาจเลือกทำตามอำนาจหน้าที่ ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลที่ให้ความสำคัญด้านสังคมและคุณภาพชีวิต ซึ่งเป็นหลักประกันด้านพื้นฐานของการบริการสาธารณะของรัฐ ได้ให้ความสำคัญกับผู้พิการ โดยเน้นย้ำถึงศักดิ์ศรีและสิทธิมนุษยชน การได้รับความคุ้มครองที่เท่าเทียมกันไม่เลือกปฏิบัติ การมีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ ภายใต้การมีส่วนร่วมของผู้พิการ ชุมชนและประชาชนทั่วไป ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ จึงมีภารกิจเกี่ยวกับการให้บริการสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์แก่ผู้พิการ ผู้ป่วยเอดส์ ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ยากไร้ ผู้ประสบปัญหาทางสังคมให้สอดคล้องกับศักยภาพและบริบทความพร้อมด้านทรัพยากรชุมชนท้องถิ่นที่มีอยู่ ซึ่งการจัดสวัสดิการสังคมในรูปแบบต่าง ๆ ต้องทำเป็นการทำงานแบบพหุภาคี ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะ จึงร่วมมือกันในการบริการสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์แก่ผู้พิการ จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพคนพิการ/ทุพลภาพ และผู้ด้อยโอกาส ในตำบลดุซงญอ ขึ้น เพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนในการดูแลสร้างความเชื่อมั่น สร้างขวัญกำลังใจ โดยการให้ความรู้ ทำความเข้าใจกับผู้ดูแลให้มากขึ้น และออกเยี่ยมบ้านผู้พิการ/ทุพลภาพในตำบลดุซงญอ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนคนพิการ
  2. เพื่อค้นหาและสำรวจคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
  3. เพื่อออกเยี่ยมบ้าน ดูแลผู้พิการที่อยู่ห่างไกล และไม่สามารถเข้าถึงหน่วยบริการสาธารณสุขได้ พร้อม ทั้งค้นหาคนพิการรายใหม่ที่ยังไม่มีบัตรคนพิการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้พิการติดสังคม และผู้ดูแลของผู้พิการติดบ้าน ติดเตียง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 284
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้พิการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพมากขึ้น และสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้
  2. ผู้พิการมีความเชื่อมั่นในคุณค่าของตัวเอง
  3. ผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้พิการ
  4. สามารถค้นหาและสำรวจคนพิการรายใหม่ และคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
  5. ผู้พิการมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
  6. ผู้พิการที่อยู่พื้นที่ห่างไกล และผู้ที่ไม่เคยมารับบริการสาธารณสุข สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้
  7. ภาครัฐสามารถนำปัญหาที่ได้จากการจัดทำโครงการ มาปรับใช้ในการทำงานและสามารถสนองความต้องการที่แท้จริงของผู้พิการได้ตรงจุด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้พิการติดสังคม และผู้ดูแลของผู้พิการติดบ้าน ติดเตียง

วันที่ 14 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ค้นหาและสำรวจผู้พิการรายใหม่ และรายเก่าในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ อบต.ดุซงญอ ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ เพื่อให้รักษาทันท่วงที 2.จัดอบรมให้ความรู้แก่ดูแลผู้พิการ/ผู้สูงอายุ (ทั้งที่ช่วยเหลือตนเองได้และไม่สามารถช่วยตนเองได้)
  2. จัดเวทีพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลได้แสดงความคิดเห็น
  3. สรุปประเมินผลโครงการ โดยประเมินผลจากการแสดงความคิดเห็นของผู้พิการและผู้ดูแลทีเข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้พิการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพมากขึ้น และสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้
  2. ผู้พิการมีความเชื่อมั่นในคุณค่าของตัวเอง
  3. ผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้พิการ
  4. ผู้พิการมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
  5. ผู้พิการที่อยู่พื้นที่ห่าวไกล และผู้ที่ไม่เคยมารับบริการสาธารณสุข สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้
  6. ภาครัฐสามารถนำปัญหาที่ได้จากการจัดทำโครงการ มาปรับใช้ในการทำงานและสามารถสนองความต้องการที่แท้จริงของผู้พิการได้ตรงจุด

 

284 0

2. ประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 14 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์โครงการให้กับกลุ่มเป้าหมาย ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการ ให้มาเข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้พิการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพมากขึ้น และสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้
  2. ผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้พิการ

 

284 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนคนพิการ
ตัวชี้วัด : จำนวนคนพิการ(คน)
284.00 284.00

 

2 เพื่อค้นหาและสำรวจคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
ตัวชี้วัด : สามารถค้นหาและสำรวจคนพิการรายใหม่ และคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้อย่างทั่่วถึง ร้อยละ 100
284.00

 

3 เพื่อออกเยี่ยมบ้าน ดูแลผู้พิการที่อยู่ห่างไกล และไม่สามารถเข้าถึงหน่วยบริการสาธารณสุขได้ พร้อม ทั้งค้นหาคนพิการรายใหม่ที่ยังไม่มีบัตรคนพิการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึงจากหน่วยงานภาครัฐ
284.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 284
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 284
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนคนพิการ (2) เพื่อค้นหาและสำรวจคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ (3) เพื่อออกเยี่ยมบ้าน ดูแลผู้พิการที่อยู่ห่างไกล และไม่สามารถเข้าถึงหน่วยบริการสาธารณสุขได้  พร้อม ทั้งค้นหาคนพิการรายใหม่ที่ยังไม่มีบัตรคนพิการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์โครงการ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้พิการติดสังคม และผู้ดูแลของผู้พิการติดบ้าน ติดเตียง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพคนพิการ/ทุพลภาพ และผู้ด้อยโอกาส ในตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2476-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุภาพร จิตราช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด