กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการพลังชุมชนร่วมใจสร้างสุขภาพดี ด้วยวิถี แพทย์แผนไทย ตำบลดุซงญอ ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมูฮัมหมัดรุสดี เจ๊ะเง๊าะ

ชื่อโครงการ โครงการพลังชุมชนร่วมใจสร้างสุขภาพดี ด้วยวิถี แพทย์แผนไทย ตำบลดุซงญอ

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2476-2-21 เลขที่ข้อตกลง 21/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพลังชุมชนร่วมใจสร้างสุขภาพดี ด้วยวิถี แพทย์แผนไทย ตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพลังชุมชนร่วมใจสร้างสุขภาพดี ด้วยวิถี แพทย์แผนไทย ตำบลดุซงญอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพลังชุมชนร่วมใจสร้างสุขภาพดี ด้วยวิถี แพทย์แผนไทย ตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2476-2-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การแพทย์แผนไทย (Thai traditionalmedicine) เป็นภูมิปัญญาไทยในการดูแลรักษาสุขภาพมาเป็นระยะเวลานาน เป็นระบบการแพทย์ที่เกิดจากการเรียนรู้การสั่งสมความรู้ ประสบการณ์การถ่ายทอด และการผสมผสานกับการแพทย์ท้องถิ่นและระบบการแพทย์อื่นที่เข้ามาสู่สังคมไทย ในสมัยต่าง ๆ จนกลายมาเป็นระบบการแพทย์แผนไทยซึ่งเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมโดยเน้นความสมดุลของธาตุภายในร่างกาย เมื่อเจ็บป่วยควรได้รับการรักษาอย่างสมเหตุสมผลมีภูมิคุ้มกันพึ่งพิงดูแลตัวเองและคนในครอบครัวได้ยั่งยืน การส่งเสริมสนับสนุนให้ลูกหลานในครัวเรือนได้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตไทยโดยใช้การแพทย์แผนไทยหรือใช้ภูมิปัญญา เช่น การใช้ลูกประคบ การนวด เป็นต้น การนวดพื้นฐาน ในการประคบ การนวดฝ่าเท้า การบริหารด้วยท่าฤาษีตัดตน มาปฏิบัติดูแลสุขภาพคนในครัวเรือนก็จะเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะทำให้ครอบครัวมีทางเลือกเพิ่มขึ้น ลดปัญหาการใช้ยาแผนปัจจุบัน ขณะเดียวกันภูมิปัญญาไทยในอดีตมีมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ปู่ ย่า ตา ยาย ก็มีการใช้ต่อเนื่องกันมาหลายชั่วอายุคนได้มีการพิสูจน์ให้เห็นแล้วว่าสามารถบรรเทาอาการเจ็บป่วยได้อย่างดีทั้งยังไม่มีอาการข้างเคียงและยังเป็นการช่วยลดค่าใช้จ่ายของครัวเรือนและประเทศชาติอีกด้วย นอกจากนี้การนวดประคบสมุนไพร โดยการมีส่วนร่วมจากชุมชนและภาคีเครือข่ายเพื่อสุขภาวะที่ดีในการส่งเสริมชุมชนอีกด้วย ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลดุซงญอ จึงได้บูรณาการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะ และได้เล็งเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงวัยทำงานในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นเกี่ยวกับอาการปวดเมื่อย และอาการเจ็บป่วยต่าง ๆ ที่จะนำไปสู่การเป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ความเสี่ยงต่อความพิการ ซึ่งการนวดแผนไทยถือเป็นภูมิปัญญาอันล้ำค่าของไทยที่สืบทอดมาแต่โบราณ การใช้สมุนไพรในการประคบลดอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย ลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็นและป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ ลดการฟกช้ำ ทำให้การไหลเวียนของเลือดลมดีขึ้น เกิดการดูแลสุขภาวะชุมชนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการพลังชุมชนร่วมใจสร้างสุขภาพดี ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย ขึ้น เพื่อให้ประชาชนที่สนใจเข้ารับการอบรมได้มีความรู้ในการแปรรูปสมุนไพรเป็นลูกประคบใช้ประจำบ้านของตนเองเพื่อลดอาการเจ็บปวดจากสาเหตุดังกล่าวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนวัยทำงานมีความรู้ ความเข้าใจ วิถีแพทย์แผนไทย และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาไทย
  3. เพื่ออบรมให้ความรู้แพทย์แผนไทยให้กับประชาชนที่สนใจ สามารถนำไปประกอบอาชีพเสริมสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว
  4. เพื่อลดอาการเจ็บปวดจากการทำงานและรู้สึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ หล่อเลี้ยงโลหิตให้ดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพร
  3. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการทำลูกประคบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ขั้นตอนการผลิตและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวันได้
  2. ส่งเสริมให้ประชาชนอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาไทย
  3. ประชาชนที่ได้รับการอบรมมีความรู้แพทย์แผนไทย สามารถนำไปประกอบอาชีพเสริมสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัวได้
  4. ลดอาการเจ็บปวดจากการทำงานและรู้สึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ หล่อเลี้ยงโลหิตให้ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการทำลูกประคบ

วันที่ 18 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการทำลูกปะคบ และลงมือปฏิบัติทำลูกปะคบ แก่ อสม.และประชาชนวัยทำงานที่สนใจเข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อสม. และกลุ่มเสี่ยงวัยทำงานที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ขั้นตอนการผลิตและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
  2. อสม.และกลุ่มเสี่ยงวัยทำงานลดอาการเจ็บปวดจากการทำงานและรู้สึกผ่อนคลายกล้ามเนี้อ หล่อเลี่ยงโลหิตให้ดีขึ้น

 

100 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพร

วันที่ 18 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรแก่ อสม.และประชาชนวัยทำงานที่สนใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อสม. และกลุ่มเสี่ยงวัยทำงานอนุรักษ์และสือสานภูมิปัญญาไทยได้
  2. อสม.และกลุ่มเสี่ยงวันทำงานเอาความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพเสริมสร้างรายได้ให้ตนเองและครอบครัว

 

100 0

3. กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 18 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์โครงการให้กับ อสม.และกลุ่มวัยทำงาน ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ขั้นตอนผลิตและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
  2. ส่งเสริมให้ประชาชนอนุรักษ์และสือสานภูมิปัญญาไทย
  3. ประชาชนที่ได้รับการอบรมมีความรู้แพทย์แผนไทย สามารถนำไปประกอบอาชีพเสริมสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัวได้

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนวัยทำงานมีความรู้ ความเข้าใจ วิถีแพทย์แผนไทย และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด :
100.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาไทย
ตัวชี้วัด :
100.00

 

3 เพื่ออบรมให้ความรู้แพทย์แผนไทยให้กับประชาชนที่สนใจ สามารถนำไปประกอบอาชีพเสริมสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว
ตัวชี้วัด :
100.00

 

4 เพื่อลดอาการเจ็บปวดจากการทำงานและรู้สึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ หล่อเลี้ยงโลหิตให้ดีขึ้น
ตัวชี้วัด :
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนวัยทำงานมีความรู้ ความเข้าใจ วิถีแพทย์แผนไทย และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาไทย (3) เพื่ออบรมให้ความรู้แพทย์แผนไทยให้กับประชาชนที่สนใจ สามารถนำไปประกอบอาชีพเสริมสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว (4) เพื่อลดอาการเจ็บปวดจากการทำงานและรู้สึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ หล่อเลี้ยงโลหิตให้ดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพร (3) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการทำลูกประคบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพลังชุมชนร่วมใจสร้างสุขภาพดี ด้วยวิถี แพทย์แผนไทย ตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2476-2-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูฮัมหมัดรุสดี เจ๊ะเง๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด