กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการ ใส่ใจ 3 อ บอกลา 2 ส ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมูฮัมหมัดรุสดี เจ๊ะเง๊าะ

ชื่อโครงการ โครงการ ใส่ใจ 3 อ บอกลา 2 ส

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2476-2-25 เลขที่ข้อตกลง 25/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ใส่ใจ 3 อ บอกลา 2 ส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ใส่ใจ 3 อ บอกลา 2 ส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ใส่ใจ 3 อ บอกลา 2 ส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2476-2-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย และเครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข การเสริมสร้างสุขภาพ ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคภัยไข้เจ็บ และอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับสุขภาพ เป็นพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ที่ทุกคนควรมีการปฏิบัติและปลูกฝังจนเป็นสุขนิสัย เพื่อให้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการเรียนรู้ การมีความสุข ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน รวมถึงเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติ จากสถิติการเจ็บป่วยของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกาแย พบว่า อัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มักพบผู้ป่วยมากที่สุดในอันดับต้น ๆ ของกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น โดยในปี 2562 มีอัตราป่วยด้วยดรคความดันโลหิตสูง 222 ราย ต่อจำนวนประชากร 3,757 ราย อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน 46 ราย ต่อจำนวนประชากร 3,757 ราย และประชากรที่เป็นความดันโลหิตสูงและเบาหวาน 12 ราย ต่อจำนวนประชากร 3,757 ราย นอกจากนี้ จากการคัดกรองในชุมชน พบว่า กลุ่มเสี่ยงก่อนเกิดโรคความดันโลหิตสูง 210 ราย กลุ่มเสี่ยงก่อนเกิดโรคเบาหวาน 13 ราย ต่อจำนวนประชากร 3,757 ราย กลุ่มที่สูบบุหรี่เป็นประจำ จำนวน 962 ราย กลุ่มที่ดื่มสุราเป็นประจำจำนวน 0 ราย นอกจากนี้มีกลุ่มผู้ป่วยที่มีปอดอุดตันเรื้อรัง จำนวน 2 ราย
ดังนั้นการเสริมสร้างสุขภาพที่ดีและสร้างโอกาสสำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมให้กับประชาชนทุกกลุ่ม จะช่วยทำให้กลุ่มป่วยสามารถดูแลตนเองได้เป็นอย่างดี กลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยงมีความตระหนักและใช้ประสบการณ์ของผู้ป่วยคนอื่น ๆ ในชุมชน เป็นตัวอย่างและปรับใช้ในการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม ไม่ก่อให้เกิดโรคก่อนวัยอันควร ทั้งนี้การสร้างโอกาสดังกล่าวจึงจำเป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน การใช้แนวทางที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นในชุมชนด้วยตนเอง ซึ่งอาจต้องรณรงค์ให้ประชาชนปฏิบัติตัวให้ถูกต้อง โดยใช้หลัก 3 อ 2 ส เช่น ลดอาหารที่มีรสหวาน มันเค็ม รับประทานผักผลไม้มากขึ้น ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หมั่นทำจิตใจให้สงบ ลด ละ เลิกบุหรี่และสุรารวมถึงการเปิดโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ทั้งผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มปกติอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดกระบวนการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม สอดคล้องกันไปอย่างต่อเนื่อง ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลดุซงญอ ได้ตระหนักถึงการเปิดโอกาสในการสร้างสุขภาวะของประชาชนในทุกกลุ่มเป้าหมาย จึงได้บูรณาการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะ ในการจัดทำโครงการใส่ใจ 3 อ บอกลา 3 ส ในหมู่ที่ 5 – 7 ตำบลดุซงญอขึ้น เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชนอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ 2 ส
  3. เพื่อลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์
  3. กิจกรรมติดตามประเมินผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้น
  2. กลุ่มเป้าหมาย มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังไม่ติดต่อได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 17 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ 3 อ. 2 ส. แก่ประชาชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ
  2. กิจกรรมการออกกำลังกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ โรคเรื้อรังไม่ติดต่อ ร้อยละ 100
  2. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าใจในพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง
  3. ลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังในชุมชน

 

60 0

2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์

วันที่ 17 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์โครงการให้กับกลุ่มเป้าหมายที่สนใจเข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้น

 

60 0

3. กิจกรรมติดตามประเมินผลการดำเนินงาน

วันที่ 17 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามและประเมินผลหลังดำเนินการ 3 ครั้ง เดือนที่ 1,3,6

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุมเป้าหมาย มีการปรับเปลี่ยนสุขภาพที่ดีถูกต้อง และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังไม่ติดต่อได้

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
60.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ 2 ส
ตัวชี้วัด :
60.00

 

3 เพื่อลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน
ตัวชี้วัด :
60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ 2 ส (3) เพื่อลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (3) กิจกรรมติดตามประเมินผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ใส่ใจ 3 อ บอกลา 2 ส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2476-2-25

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูฮัมหมัดรุสดี เจ๊ะเง๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด