โครงการความปลอดภัยในการประกอบอาชีพของเกษตรกรสวนยางพารา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการความปลอดภัยในการประกอบอาชีพของเกษตรกรสวนยางพารา ”
ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว
สิงหาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการความปลอดภัยในการประกอบอาชีพของเกษตรกรสวนยางพารา
ที่อยู่ ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการความปลอดภัยในการประกอบอาชีพของเกษตรกรสวนยางพารา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการความปลอดภัยในการประกอบอาชีพของเกษตรกรสวนยางพารา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการความปลอดภัยในการประกอบอาชีพของเกษตรกรสวนยางพารา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,475.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประชาชนส่วนใหญ่ของตำบลอยู่ในภาคเกษตรกรรม เช่น ทำนา ทำไร่ ทำสวนผลไม้และสวนยางพารา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานนอกระบบ แต่ทำงานที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพจากสถาพภูมิอากาศที่ร้อนจัด พักผ่อนไม่เพียงพอ ท่าทางการทำงานที่มีความเสี่ยงต่อการปวดหลังและกล้ามเนื้ออักเสบ เสี่ยงต่ออันตรายต่อสัตว์มีพิษหรืออุบัติเหตุ รวมทั้งการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพมีพิษทั้งแบบเฉียบพลัน และเรื้อรัง การไม่ได้เพียงพอหรือพักผ่อนไม่เพียงพอ การยกของหนัก อันตรายจากสัตว์มีพิษกัด อุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพ เกษตรกรสวนยางพาราต้องตื่นกรีด ยางพาราในเวลาเที่ยงคืน บางรายเริ่มกรีดตั้งแต่ เวลา 23.00 น. โดยเฉพาะช่วงที่อากาศหนาวที่สุดทำให้น้ำยางออกมาก ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวเป็นเวลาของการพักผ่อนที่ดีที่สุด แต่เกษตรกรต้องอดทน อดหลับอดนอน นอนไม่เป็นเวลา ทำให้ร่างการพักผ่อนไม่เพียงพอและยังส่งผลต่อสุขภาพจิตของเกษตรกรได้อีกด้วย
ปัญหาของเกษตรกรการทำสวนยางพาราที่กล่าวในเบื้องต้นทั้งจากการใช้แรงงาน ด้านการยศาสตร์ การสัมผัสสารเคมี แบบแผนการนอนหลับพักผ่อนที่เปลี่ยนแปลงไป มีความเสี่ยงต่อการเกิดการเจ็บป่วยจากปัจจัยด้าน กายภาพ ด้านชีวภาพ ด้านเคมี และด้านจิตสังคม รวมถึงการก่อมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมทั้งทางดิน ทางน้ำ และยังส่งผลกระทบในวงกว้าง ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชนซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นเกิดจากเกษตรกรสวนยางพาราดูแลตนเองไม่เหมาะสม ดังนัเนในการแก้ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อเกษตรกรสวนยางพารา ต้องสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้เกี่ยวข้องหลายภาคส่วนในชุมชนเป็นสำคัญ เนื่องจากธรรมชาติมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มนุษย์จึงต้องมีการเรียนรู้ เพื่อเป็นเครื่องมือที่จะเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงจึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในตำบลในการประกอบอาชีพสวนยางพารา ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยวได้รับการตรวจสุขภาพ เพือทำการเผ้าระวังและปรับปเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงและให้ความรู้ด้านยศาสตร์ในการประกอบอาชีพที่ถูกต้องต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างอาสาสมัครแรงงานนอกระบบ
- มีฐานข้อมูลปัญหาสุขภาพจากการประกอบอาชีพสวนยางพารา
- เพื่อลดปัญหาสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงในการประกอบอาชีพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินงาน
- การอบรมอาสาสมัครแรงงานนอกระบบ
- การสำรวจและบันทึกข้อมูลลงเว็ปไซด์ปัญหาสุขภาพจากการประกอบอาชีพเกษตรกรสวนยางพารา
- การอบรมสร้างความปลอดภัยสำหรับเกษตรกรสวนยางพารา
- สรุปผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
559
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรสวนยางพารา มีความรู้ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงานให้ถูกต้อง
- เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรสวนยางพารา ที่เข้าร่วมกิจกรรม เป็นแกนนำส่งเสริมสุขภาพ นำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้กับเกษตรกรสวนยางพาราที่ไม่ได้เข้าร่วม
- เกษตรกรชาวสวนยางมีความปลอดภัยในการประกอบอาชีพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างอาสาสมัครแรงงานนอกระบบ
ตัวชี้วัด : มีอาสาสมัครแรงงานนอกระบบ หมู่บ้านละ 2 คน
0.00
22.00
2
มีฐานข้อมูลปัญหาสุขภาพจากการประกอบอาชีพสวนยางพารา
ตัวชี้วัด : มีฐานข้อมูลที่ถูกต้องไม่น้อยกว่าน้อยละ 60
0.00
60.00
3
เพื่อลดปัญหาสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงในการประกอบอาชีพ
ตัวชี้วัด : ปัญหาด้านสุขภาพจากการประกอบอาชีพลดลง ร้อยละ 5
559.00
532.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
559
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
559
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างอาสาสมัครแรงงานนอกระบบ (2) มีฐานข้อมูลปัญหาสุขภาพจากการประกอบอาชีพสวนยางพารา (3) เพื่อลดปัญหาสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงในการประกอบอาชีพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินงาน (2) การอบรมอาสาสมัครแรงงานนอกระบบ (3) การสำรวจและบันทึกข้อมูลลงเว็ปไซด์ปัญหาสุขภาพจากการประกอบอาชีพเกษตรกรสวนยางพารา (4) การอบรมสร้างความปลอดภัยสำหรับเกษตรกรสวนยางพารา (5) สรุปผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการความปลอดภัยในการประกอบอาชีพของเกษตรกรสวนยางพารา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการความปลอดภัยในการประกอบอาชีพของเกษตรกรสวนยางพารา ”
ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
สิงหาคม 2563
ที่อยู่ ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการความปลอดภัยในการประกอบอาชีพของเกษตรกรสวนยางพารา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการความปลอดภัยในการประกอบอาชีพของเกษตรกรสวนยางพารา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการความปลอดภัยในการประกอบอาชีพของเกษตรกรสวนยางพารา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,475.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประชาชนส่วนใหญ่ของตำบลอยู่ในภาคเกษตรกรรม เช่น ทำนา ทำไร่ ทำสวนผลไม้และสวนยางพารา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานนอกระบบ แต่ทำงานที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพจากสถาพภูมิอากาศที่ร้อนจัด พักผ่อนไม่เพียงพอ ท่าทางการทำงานที่มีความเสี่ยงต่อการปวดหลังและกล้ามเนื้ออักเสบ เสี่ยงต่ออันตรายต่อสัตว์มีพิษหรืออุบัติเหตุ รวมทั้งการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพมีพิษทั้งแบบเฉียบพลัน และเรื้อรัง การไม่ได้เพียงพอหรือพักผ่อนไม่เพียงพอ การยกของหนัก อันตรายจากสัตว์มีพิษกัด อุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพ เกษตรกรสวนยางพาราต้องตื่นกรีด ยางพาราในเวลาเที่ยงคืน บางรายเริ่มกรีดตั้งแต่ เวลา 23.00 น. โดยเฉพาะช่วงที่อากาศหนาวที่สุดทำให้น้ำยางออกมาก ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวเป็นเวลาของการพักผ่อนที่ดีที่สุด แต่เกษตรกรต้องอดทน อดหลับอดนอน นอนไม่เป็นเวลา ทำให้ร่างการพักผ่อนไม่เพียงพอและยังส่งผลต่อสุขภาพจิตของเกษตรกรได้อีกด้วย ปัญหาของเกษตรกรการทำสวนยางพาราที่กล่าวในเบื้องต้นทั้งจากการใช้แรงงาน ด้านการยศาสตร์ การสัมผัสสารเคมี แบบแผนการนอนหลับพักผ่อนที่เปลี่ยนแปลงไป มีความเสี่ยงต่อการเกิดการเจ็บป่วยจากปัจจัยด้าน กายภาพ ด้านชีวภาพ ด้านเคมี และด้านจิตสังคม รวมถึงการก่อมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมทั้งทางดิน ทางน้ำ และยังส่งผลกระทบในวงกว้าง ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชนซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นเกิดจากเกษตรกรสวนยางพาราดูแลตนเองไม่เหมาะสม ดังนัเนในการแก้ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อเกษตรกรสวนยางพารา ต้องสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้เกี่ยวข้องหลายภาคส่วนในชุมชนเป็นสำคัญ เนื่องจากธรรมชาติมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มนุษย์จึงต้องมีการเรียนรู้ เพื่อเป็นเครื่องมือที่จะเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงจึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในตำบลในการประกอบอาชีพสวนยางพารา ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยวได้รับการตรวจสุขภาพ เพือทำการเผ้าระวังและปรับปเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงและให้ความรู้ด้านยศาสตร์ในการประกอบอาชีพที่ถูกต้องต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างอาสาสมัครแรงงานนอกระบบ
- มีฐานข้อมูลปัญหาสุขภาพจากการประกอบอาชีพสวนยางพารา
- เพื่อลดปัญหาสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงในการประกอบอาชีพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินงาน
- การอบรมอาสาสมัครแรงงานนอกระบบ
- การสำรวจและบันทึกข้อมูลลงเว็ปไซด์ปัญหาสุขภาพจากการประกอบอาชีพเกษตรกรสวนยางพารา
- การอบรมสร้างความปลอดภัยสำหรับเกษตรกรสวนยางพารา
- สรุปผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 559 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรสวนยางพารา มีความรู้ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงานให้ถูกต้อง
- เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรสวนยางพารา ที่เข้าร่วมกิจกรรม เป็นแกนนำส่งเสริมสุขภาพ นำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้กับเกษตรกรสวนยางพาราที่ไม่ได้เข้าร่วม
- เกษตรกรชาวสวนยางมีความปลอดภัยในการประกอบอาชีพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างอาสาสมัครแรงงานนอกระบบ ตัวชี้วัด : มีอาสาสมัครแรงงานนอกระบบ หมู่บ้านละ 2 คน |
0.00 | 22.00 |
|
|
2 | มีฐานข้อมูลปัญหาสุขภาพจากการประกอบอาชีพสวนยางพารา ตัวชี้วัด : มีฐานข้อมูลที่ถูกต้องไม่น้อยกว่าน้อยละ 60 |
0.00 | 60.00 |
|
|
3 | เพื่อลดปัญหาสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงในการประกอบอาชีพ ตัวชี้วัด : ปัญหาด้านสุขภาพจากการประกอบอาชีพลดลง ร้อยละ 5 |
559.00 | 532.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 559 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 559 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างอาสาสมัครแรงงานนอกระบบ (2) มีฐานข้อมูลปัญหาสุขภาพจากการประกอบอาชีพสวนยางพารา (3) เพื่อลดปัญหาสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงในการประกอบอาชีพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินงาน (2) การอบรมอาสาสมัครแรงงานนอกระบบ (3) การสำรวจและบันทึกข้อมูลลงเว็ปไซด์ปัญหาสุขภาพจากการประกอบอาชีพเกษตรกรสวนยางพารา (4) การอบรมสร้างความปลอดภัยสำหรับเกษตรกรสวนยางพารา (5) สรุปผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการความปลอดภัยในการประกอบอาชีพของเกษตรกรสวนยางพารา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......