กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ


“ แบ่งปันรอยยิ้ม สร้างทุนสุขภาพ บ้านบางตาล ปี 2563 ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปิยฉัตร ชูช่วย

ชื่อโครงการ แบ่งปันรอยยิ้ม สร้างทุนสุขภาพ บ้านบางตาล ปี 2563

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3333-02-06 เลขที่ข้อตกลง 26/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"แบ่งปันรอยยิ้ม สร้างทุนสุขภาพ บ้านบางตาล ปี 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
แบ่งปันรอยยิ้ม สร้างทุนสุขภาพ บ้านบางตาล ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " แบ่งปันรอยยิ้ม สร้างทุนสุขภาพ บ้านบางตาล ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3333-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,704.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านสังคมวิถีชีวิตความเป็นอยู่ เศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทำให้ประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดความใส่ใจดูแลสุขภาพเท่าที่ควร อีกทั้งยังขาดทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีและความสัมพันธ์ของกันและกันแก่ตนเอง คนในครอบครัว และคนในชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ที่ 7 บ้านบางตาล ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบางตาล ได้ค้นหาปัญหาในชุมชน อันได้แก่ ปัญหายาเสพติดในชุมชน ปัญหาการขาดการออกกำลังกาย ปัญหาความเครียด ปัญหาโรคเรื้อรังปัญหาโรคอ้วนลงพุง ปัญหาโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค นำเอาปัญหาเหล่านี้มาวิเคราะห์ถึงสาเหตุ ปัจจัย ที่ก่อให้เกิดปัญหาเหล่านี้ รวมถึงวิธีการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาว่าสามารถที่จะแก้ไขได้ตรงตามกระบวนการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาหรือไม่ จึงได้ข้อสรุปออกมาคือปัญหา โรคอ้วนลงพุงเพราะได้เล็งเห็นแล้วว่าต้นเหตุของโรคอ้วนลงพุงเกิดจากการขาดการออกกำลังกาย การบริโภคอาหารที่มีไขมัน การบริโภคอาหารเน้นหนักไปทางมื้อเย็นเป็นส่วนใหญ่ ที่สวนกระแสของคำว่า หนักเช้า เบาเที่ยง เลี่ยงเย็น เว้นดึกจึงเป็นบ่อเกิดของโรคอ้วนลงพุงตามมา อีกทั้งได้นำเอา หลักการ ดาน ( DAN = การลดน้ำหนักด้วยการควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย ทำให้น่ามอง น่าดู ดูดี D = Diet = ลดน้ำหนักด้วยการคุมอาหาร ,A = Activity = การกระทำอย่างมีชีวิตชีวา การออกกำลังกาย , N = Nice = น่าดู น่ามอง ดูดีอ้างอิงจาก ชมรมฅนบางตาล ดานทุกข์โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบางตาล)มาใช้เป็นแนวปฏิบัติในการดำเนินงานโครงการดังกล่าว ดังนั้น ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ที่ 7 บ้านบางตาลได้มองเห็นถึงปัญหาโรคอ้วนลงพุง ของประชาชนหมู่ที่ 7 จึงได้จัดทำโครงการแบ่งปันรอยยิ้ม สร้างทุนสุขภาพ บ้านบางตาลขึ้น ปี 2563 เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้มีจำนวนลดน้อยลง ส่งเสริมให้ประชาชนได้หันมาออกกำลังกายกันถ้วนหน้า บริโภคผักปลอดสารพิษที่มีอยู่ในชุมชนเพื่อแบ่งปันให้กันและกัน เกิดเป็นรอยยิ้มที่มีภูมิคุ้มกัน เป็นทุนทางด้านสุขภาพที่มั่นคง และยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ ในการออกกำลังกายและบริโภคอาหารอย่างถูกต้อง
  2. สร้างประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้เป็นแกนนำออกกำลังกาย
  3. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีการบริโภคอาหารที่ลดปัจจัยเอื้ออ้วนลงพุง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. แบ่งปันความรู้ สร้างทุนสุขภาพ
  2. สร้างแกนนำออกกำลังกาย
  3. ประเมินผลและสรุปผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 89
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ ในการออกกำลังและบริโภคอาหารอย่างถูกต้อง 2.มีการสร้างแกนนำออกกำลังกาย 3.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีการบริโภคอาหารที่ลดปัจจัยเอื้ออ้วนลงพุง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมในโครงการ จำนวน 99 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเป็นแกนนำออกกำลังกาย จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 34.6 3.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้บริโภคอาหาร เช่น ผักสวนครัว จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 75.2 4.รอบเอวของผู้เข้าร่วมโครงการลดลง จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 9.9

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ ในการออกกำลังกายและบริโภคอาหารอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมมากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

2 สร้างประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้เป็นแกนนำออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเป็นแกนนำออกกำลังกาย มากกว่าร้อยละ 30
0.00

 

3 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีการบริโภคอาหารที่ลดปัจจัยเอื้ออ้วนลงพุง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้บริโภคอาหารลดปัจจัยที่เอื้ออ้วนลงพุง ร้อยละ 70
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 99
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 89
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ ในการออกกำลังกายและบริโภคอาหารอย่างถูกต้อง (2) สร้างประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้เป็นแกนนำออกกำลังกาย (3) ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีการบริโภคอาหารที่ลดปัจจัยเอื้ออ้วนลงพุง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แบ่งปันความรู้ สร้างทุนสุขภาพ (2) สร้างแกนนำออกกำลังกาย (3) ประเมินผลและสรุปผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


แบ่งปันรอยยิ้ม สร้างทุนสุขภาพ บ้านบางตาล ปี 2563 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3333-02-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปิยฉัตร ชูช่วย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด