กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบ่อ


“ โครงการจิตอาสาร่วมใจป้องกันโรค ”

ตำบลหนองบ่อ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสมบูรณ์ นะวะกะ

ชื่อโครงการ โครงการจิตอาสาร่วมใจป้องกันโรค

ที่อยู่ ตำบลหนองบ่อ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-l1510-2-5 เลขที่ข้อตกลง 5/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มิถุนายน 2563 ถึง 24 มิถุนายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจิตอาสาร่วมใจป้องกันโรค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองบ่อ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบ่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจิตอาสาร่วมใจป้องกันโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจิตอาสาร่วมใจป้องกันโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองบ่อ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-l1510-2-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มิถุนายน 2563 - 24 มิถุนายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,825.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบ่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 19 สิงหาคม 2562 ประเทศไทยมีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 69,055 ราย อัตราป่วย 104.53 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 75 ราย อัตราป่วย-ตาย ร้อยละ 0.11 จังหวัดตรัง อยู่ลำดับที่ 53 ของประเทศ จากสถานการณ์ของเขต 12 มีรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 19 สิงหาคม 2562 มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 5,279 ราย อัตราป่วย 107.09 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน 3 ราย อัตราป่วย-ตาย ร้อยละ 0.06 จากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา(รง.506) ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 19 สิงหาคม 2562 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 465 ราย อัตราป่วย 72.31 ต่อแสนประชากร ยังไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต ซึ่งสำหรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ตั้งแต่ปี 2551 – 2562 ของจังหวัดตรัง  มีลักษณะแนวโน้มการเกิดโรคเป็นแบบระบาด
2 ปี เว้น 1 ปี และอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกรายอำเภอ ปี 2562 ในพื้นที่จังหวัดตรัง 3 อันดับแรกพบว่าอำเภอที่มีอัตราป่วยสูงสุด คือ อำเภอย่านตาขาว อัตราป่วย 173.65 ต่อแสนประชากร รองลงมา คือ อำเภอวังวิเศษ อัตราป่วย 169.23 ต่อแสนประชากร และอำเภอหาดสำราญ อัตราป่วย 94.97 ต่อแสนประชากร และเมื่อเปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก จำแนกรายเดือนของปี 2561 – 2562 พบว่าเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ และ เดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม 2562 มีจำนวนผู้ป่วยมากกว่าในเดือนเดียวกันของปี 2561 และมีจำนวนผู้ป่วยมากกว่าค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (2557 - 2561) และมีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2562    ในพื้นที่จังหวัดตรัง 3 อันดับแรกพบว่า กลุ่มอายุที่มีอัตราป่วยสูงสุด คือ กลุ่มอายุ 10 – 14 ปี อัตราป่วย 173.91 ต่อแสนประชากร รองลงมา คือ กลุ่มอายุ 15 – 24 ปี อัตราป่วย 161.87 ต่อแสนประชากร และกลุ่มอายุ 5 – 9 ปี อัตราป่วย 132.91 ต่อแสนประชากร ซึ่งในพื้นที่ตำบลหนองบ่อ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งเกาะญวน พบผู้ป่วยทั้งหมด 11 ราย อัตราป่วย 627.85 ต่อแสนประชากรจากผลการดำเนินโครงการสร้างแกนนป้องกันภัยโรคติดต่อใกล้ตัว ใกล้บ้าน เรือนเคียง ในปี 2562 โดยตัวกิจกรรมเป็นการจัดอบรมความรู้เพื่อส่งเสริมพื้นฐานความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อใกล้ตัวและสร้างกลุ่มแกนนำเพื่อป้องกันโรค เมื่อเกิดการระบาดของโรคขึ้น ดังนั้นทาง ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านทุ่งเกาะญวน ได้จัดทำโครงการจิตอาสาร่วมใจป้องกันโรคขึ้น เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ที่สามารถนำมาใช้ในการป้องกันโรคระบาดในระยะปฐมภูมิได้ และหากมีการป้องกันตั้งแต่ระยะปฐมภูมิก็จะสามารถลดโอกาสการเกิดโรคได้ และยังสามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรค 2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสร้างผลิตภัณฑ์ในการควบคุมป้องกันโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรค 2 เกิดผลิตภัณฑ์ในการควบคุมป้องกันโรค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 17 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคระบาด(โรคไข้เลือดออก) รวมไปถึงการป้องกัน และการรักษา คิดเป็นร้อยละ 87.05  เมื่อมีการเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าว หลังจากกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้ในภาคทฤษฎีไปแล้ว กิจกรรมในช่วงบ่ายเป็นกิจกรรมการสร้างผลิตภัณฑ์การป้องกันโรคไข้เลือดออก(สเปรย์ตะไคร้หองป้องกันยุง ซึ่งผลิตภัณฑ์ดังกล่าวกลุ่มเป้าหมายสามารถนำกลับไปใช้ในการป้องกันการเดิดโรคดังกล่าวได้ในเบื้องต้นเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรค 2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสร้างผลิตภัณฑ์ในการควบคุมป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : 1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรค 2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสร้างผลิตภัณฑ์ในการควบคุมป้องกันโรค
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรค 2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสร้างผลิตภัณฑ์ในการควบคุมป้องกันโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจิตอาสาร่วมใจป้องกันโรค จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-l1510-2-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสมบูรณ์ นะวะกะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด