โครงการส่งเสริมและเพิ่มศักยภาพการดูแลคนผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมและเพิ่มศักยภาพการดูแลคนผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ปี 2560 ”
ตำบลนานาค อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางละมัย ยูโซ๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นานาค
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและเพิ่มศักยภาพการดูแลคนผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ปี 2560
ที่อยู่ ตำบลนานาค อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2483-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมและเพิ่มศักยภาพการดูแลคนผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนานาค อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นานาค ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและเพิ่มศักยภาพการดูแลคนผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมและเพิ่มศักยภาพการดูแลคนผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนานาค อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2483-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นานาค เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชนเป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการโดยมีญาติหรือผู้ดูแลและคนในชุมชนมีส่วนร่วมเนื่องจากความพิการทางร่างกายและทางจิตส่งผลต่อคุณภาพชีวิตทำให้ผู้พิการไม่สามารถดำรงชีวิตได้เทียบเท่าคนปกติไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการทางการแพทย์ทำให้ขาดการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และต่อเนื่องส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้พิการรวมไปถึงการเป็นภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล
ในเขตความรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนานาค มีหมู่บ้านทั้งหมด 4 หมู่บ้าน จำนวนประชากรทั้งหมด4,132.-คน มีจำนวนผู้พิการทั้งหมด 116 คน ผู้ป่วยติดเตียง จำนวน 3คน คิดเป็นร้อยละ ๒.80 และ ๐.07ของประชากรทั้งหมด โดยมีผู้พิการแยกประเภท ดังนี้ ประเภทพิการทางการมองเห็นจำนวน 10 คน ประเภทพิการทางการได้ยิน/สื่อความหมายจำนวน 23คน ประเภทพิการทางด้านการเคลื่อนไหว/กายจำนวน 47 คน ประเภทพิการทางด้านจิตและพฤติกรรมจำนวน 18คน ประเภทพิการทางด้านสติปัญญา/การเรียนรู้ จำนวน 11 คน และมีความพิการซ้ำซ้อนจำนวน 7 คน ซึ่งการดำเนินงานในด้านการดูแลผู้พิการยังขาดความต่อเนื่องรวมไปถึงความครอบคลุมในการดูแลผู้พิการยังไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด
ดังนั้นเพื่อให้มีการดูแลผู้พิการอย่างต่อเนื่องยั่งยืนของผู้พิการในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลนานาคและ แกนนำ/อสม. ให้มีศักยภาพในการปฏิบัติงานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการรวมทั้งผู้พิการรายเดิมที่จำเป็น ต้องได้รับการดูแล และผู้พิการที่ยังไม่เคยได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ตลอดจนเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้พิการในชุมชนที่ดีขึ้นและคลอบคลุมทุกพื้นที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลนานาค จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ผู้พิการมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และส่งเสริมให้ครอบครัว ชุมชนของผู้พิการ มีส่วนร่วมในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ตลอดจนสร้างขวัญและกำลังใจแก่ผู้พิการในการดำรงชีวิตให้มีสุขภาพที่ดีทั้งกายและจิตใจ สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในการดำรงชีวิตประจำวัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลคนพิการและผู้ป่วยติดเตียง
- เพื่อให้คนพิการและผู้ป่วยติดเตียงสามารถช่วยเหลือตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
- เพื่อพัฒนาชมรมผู้พิการให้ความความเข้มแข็งและยั่งยืน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดซื้อวัสดุสำนักงานเพื่อใช้ในโครงการ
- จัดทำป้ายไวนิล
- จัดจ้างทำอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ดูแลผู้พิการสามารถนำความรู้ที่ได้รับการอบรมไปปฏิบัติแก่ผู้พิการได้
๒. ผู้พิการสามารถดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
๓. ผู้พิการมีกำลังใจในการดำเนินชีวิตต่อไปได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดซื้อวัสดุสำนักงานเพื่อใช้ในโครงการ
วันที่ 26 มิถุนายน 2560กิจกรรมที่ทำ
สำรวจกลุ่มเป้าหมายโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมกับเจ้าหน้าที่และอบต.ให้เป็นปัจจุบัน จัดทำโครงการเพื่อเสนออนุมัติ จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้พิการและผู้ป่วยตดเตียง ติดตามเยี่ยมบ้านผู้พิการ ปีละ 2ครั้ง ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียง อย่างน้อย 2 เดือนครั้ง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ดูแลผู้พิการสามารถนำความรู้ที่ได้รับการอบรมไปปฎิบัติแก่ผู้พิการได้้ ผู้พิการสามารถดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ผู้พิการมีกำลังใจในการดำเนินชีวิตต่อไปได้
0
0
2. จัดจ้างทำอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน
วันที่ 26 กรกฎาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
จัดจ้างทำอาหารว่างและเครื่องดื่ม และอาหารกลางวัน ในการจัดอบรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้พิการสามารถดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
50
0
3. จัดทำป้ายไวนิล
วันที่ 18 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
จ้างเหมาทำป้ายประชาสัมพันธ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ดูแลผู้พิการสามารถนำความรู้ที่ได้รับการอบรมไปปฎิบัติแก่ผู้พิการได้
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑. ผู้ดูแลผู้พิการสามารถนำความรู้ที่ได้รับการอบรมไปปฎิบัติแก่ผู้พิการได้
๒. ผู้พิการสามารถดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
๓. ผู้พิการมีกำลังใจในการดำเนินชีวิตต่อไปได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลคนพิการและผู้ป่วยติดเตียง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๕๐ ของผู้ดุแลคนพิการ ผู้ป่วยติดเตียงมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและสามารถส่งเสริมคนพิการให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
2
เพื่อให้คนพิการและผู้ป่วยติดเตียงสามารถช่วยเหลือตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๕๐ ของคนพิการ มีความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันในระดับที่พึงพาตนเอง
3
เพื่อพัฒนาชมรมผู้พิการให้ความความเข้มแข็งและยั่งยืน
ตัวชี้วัด : คนพิการเข้าร่วมเป็นสมาชิกชมรมผู้พิการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๐
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลคนพิการและผู้ป่วยติดเตียง (2) เพื่อให้คนพิการและผู้ป่วยติดเตียงสามารถช่วยเหลือตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (3) เพื่อพัฒนาชมรมผู้พิการให้ความความเข้มแข็งและยั่งยืน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อวัสดุสำนักงานเพื่อใช้ในโครงการ (2) จัดทำป้ายไวนิล (3) จัดจ้างทำอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมและเพิ่มศักยภาพการดูแลคนผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2483-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางละมัย ยูโซ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมและเพิ่มศักยภาพการดูแลคนผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ปี 2560 ”
ตำบลนานาค อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางละมัย ยูโซ๊ะ
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลนานาค อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2483-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมและเพิ่มศักยภาพการดูแลคนผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนานาค อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นานาค ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและเพิ่มศักยภาพการดูแลคนผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมและเพิ่มศักยภาพการดูแลคนผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนานาค อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2483-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นานาค เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชนเป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการโดยมีญาติหรือผู้ดูแลและคนในชุมชนมีส่วนร่วมเนื่องจากความพิการทางร่างกายและทางจิตส่งผลต่อคุณภาพชีวิตทำให้ผู้พิการไม่สามารถดำรงชีวิตได้เทียบเท่าคนปกติไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการทางการแพทย์ทำให้ขาดการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และต่อเนื่องส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้พิการรวมไปถึงการเป็นภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล ในเขตความรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนานาค มีหมู่บ้านทั้งหมด 4 หมู่บ้าน จำนวนประชากรทั้งหมด4,132.-คน มีจำนวนผู้พิการทั้งหมด 116 คน ผู้ป่วยติดเตียง จำนวน 3คน คิดเป็นร้อยละ ๒.80 และ ๐.07ของประชากรทั้งหมด โดยมีผู้พิการแยกประเภท ดังนี้ ประเภทพิการทางการมองเห็นจำนวน 10 คน ประเภทพิการทางการได้ยิน/สื่อความหมายจำนวน 23คน ประเภทพิการทางด้านการเคลื่อนไหว/กายจำนวน 47 คน ประเภทพิการทางด้านจิตและพฤติกรรมจำนวน 18คน ประเภทพิการทางด้านสติปัญญา/การเรียนรู้ จำนวน 11 คน และมีความพิการซ้ำซ้อนจำนวน 7 คน ซึ่งการดำเนินงานในด้านการดูแลผู้พิการยังขาดความต่อเนื่องรวมไปถึงความครอบคลุมในการดูแลผู้พิการยังไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ดังนั้นเพื่อให้มีการดูแลผู้พิการอย่างต่อเนื่องยั่งยืนของผู้พิการในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลนานาคและ แกนนำ/อสม. ให้มีศักยภาพในการปฏิบัติงานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการรวมทั้งผู้พิการรายเดิมที่จำเป็น ต้องได้รับการดูแล และผู้พิการที่ยังไม่เคยได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ตลอดจนเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้พิการในชุมชนที่ดีขึ้นและคลอบคลุมทุกพื้นที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลนานาค จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ผู้พิการมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และส่งเสริมให้ครอบครัว ชุมชนของผู้พิการ มีส่วนร่วมในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ตลอดจนสร้างขวัญและกำลังใจแก่ผู้พิการในการดำรงชีวิตให้มีสุขภาพที่ดีทั้งกายและจิตใจ สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในการดำรงชีวิตประจำวัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลคนพิการและผู้ป่วยติดเตียง
- เพื่อให้คนพิการและผู้ป่วยติดเตียงสามารถช่วยเหลือตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
- เพื่อพัฒนาชมรมผู้พิการให้ความความเข้มแข็งและยั่งยืน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดซื้อวัสดุสำนักงานเพื่อใช้ในโครงการ
- จัดทำป้ายไวนิล
- จัดจ้างทำอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 50 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ดูแลผู้พิการสามารถนำความรู้ที่ได้รับการอบรมไปปฏิบัติแก่ผู้พิการได้ ๒. ผู้พิการสามารถดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ๓. ผู้พิการมีกำลังใจในการดำเนินชีวิตต่อไปได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดซื้อวัสดุสำนักงานเพื่อใช้ในโครงการ |
||
วันที่ 26 มิถุนายน 2560กิจกรรมที่ทำสำรวจกลุ่มเป้าหมายโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมกับเจ้าหน้าที่และอบต.ให้เป็นปัจจุบัน จัดทำโครงการเพื่อเสนออนุมัติ จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้พิการและผู้ป่วยตดเตียง ติดตามเยี่ยมบ้านผู้พิการ ปีละ 2ครั้ง ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียง อย่างน้อย 2 เดือนครั้ง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ดูแลผู้พิการสามารถนำความรู้ที่ได้รับการอบรมไปปฎิบัติแก่ผู้พิการได้้ ผู้พิการสามารถดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ผู้พิการมีกำลังใจในการดำเนินชีวิตต่อไปได้
|
0 | 0 |
2. จัดจ้างทำอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน |
||
วันที่ 26 กรกฎาคม 2560กิจกรรมที่ทำจัดจ้างทำอาหารว่างและเครื่องดื่ม และอาหารกลางวัน ในการจัดอบรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้พิการสามารถดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
|
50 | 0 |
3. จัดทำป้ายไวนิล |
||
วันที่ 18 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำจ้างเหมาทำป้ายประชาสัมพันธ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ดูแลผู้พิการสามารถนำความรู้ที่ได้รับการอบรมไปปฎิบัติแก่ผู้พิการได้
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑. ผู้ดูแลผู้พิการสามารถนำความรู้ที่ได้รับการอบรมไปปฎิบัติแก่ผู้พิการได้ ๒. ผู้พิการสามารถดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ๓. ผู้พิการมีกำลังใจในการดำเนินชีวิตต่อไปได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลคนพิการและผู้ป่วยติดเตียง ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๕๐ ของผู้ดุแลคนพิการ ผู้ป่วยติดเตียงมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและสามารถส่งเสริมคนพิการให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน |
|
|||
2 | เพื่อให้คนพิการและผู้ป่วยติดเตียงสามารถช่วยเหลือตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๕๐ ของคนพิการ มีความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันในระดับที่พึงพาตนเอง |
|
|||
3 | เพื่อพัฒนาชมรมผู้พิการให้ความความเข้มแข็งและยั่งยืน ตัวชี้วัด : คนพิการเข้าร่วมเป็นสมาชิกชมรมผู้พิการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๐ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 50 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลคนพิการและผู้ป่วยติดเตียง (2) เพื่อให้คนพิการและผู้ป่วยติดเตียงสามารถช่วยเหลือตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (3) เพื่อพัฒนาชมรมผู้พิการให้ความความเข้มแข็งและยั่งยืน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อวัสดุสำนักงานเพื่อใช้ในโครงการ (2) จัดทำป้ายไวนิล (3) จัดจ้างทำอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมและเพิ่มศักยภาพการดูแลคนผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2483-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางละมัย ยูโซ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......