กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสมุนไพรไทยไล่ยุง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2563
รหัสโครงการ 63-L5248-1-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปริก
วันที่อนุมัติ 17 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 20,570.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายปรีติวัฒน์ หนูวิลัย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.694,100.473place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรไล่ยุงและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้

1 กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการร้อยละ 100

0.00
2 2 เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักในการเฝ้าระวังป้องกันลูกน้ำยุงลาย และร่วมแรงร่วมใจดำเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อต้านภัยไข้เลือดออกในหมู่บ้าน

2 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องสมุนไพรไล่ยุงเพิ่มขึ้น

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1 วางแผนโครงการ 2 เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 3 ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ และประชาสัมพันธ์โครงการ 4 ดำเนินโครงการ
5กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรไล่ยุง 5.1 ทำแบบประเมิน/ทดสอบความรู้ก่อนการอบรม 5.2 ให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรไล่ยุง 5.3แจกใบความรู้เรื่อง “สมุนไพรไล่ยุง”
5.4 สาธิตการผลิตสเปรย์กันยุงตะไคร้หอม 5.5 ทำแบบประเมิน/ทดสอบความรู้หลังการอบรม 6 สรุปผลการดำเนินโครงการ 7 ประเมินผลการดำเนินโครงการและเสนอต่อผู้อนุมัติ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรไล่ยุงและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ 2 เกิดนวัตกรรมใหม่จากสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ป้องกันยุงลาย ซึ่งเป็นพาหะของไข้เลือดออกทำให้ประหยัด ค่าใช้จ่ายและเป็นการพึ่งตนเองแบบยั่งยืน 3 เกิดผลิตภัณฑ์ใช้ทากันยุงจากสมุนไพรที่เป็นทางเลือกใหม่ให้แก่ผู้ที่แพ้โลชั่นทากันยุงแผนปัจจุบัน 4 ประชาชนเกิดความตระหนักในการเฝ้าระวังป้องกันลูกน้ำยุงลาย และร่วมแรงร่วมใจดำเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อต้านภัยไข้เลือดออกในหมู่บ้าน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ก.พ. 2563 10:18 น.