กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ


“ ชาวเกาะยวนชวนขยับกาย ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูงปี 2563 ”

ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกฤติยาภรณ์ สีมัสมิง

ชื่อโครงการ ชาวเกาะยวนชวนขยับกาย ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูงปี 2563

ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3333-02-08 เลขที่ข้อตกลง 04/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"ชาวเกาะยวนชวนขยับกาย ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูงปี 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชาวเกาะยวนชวนขยับกาย ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูงปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " ชาวเกาะยวนชวนขยับกาย ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูงปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3333-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,470.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในด้านต่างๆที่มีความทันสมัยสะดวกสบายมากขึ้นทำให้วิถีชีวิตของคนเกาะยวนในปัจจุบันเปลี่ยนไปประชาชนมีการออกกำลังกายน้อยลงทำให้ร่างกายอ่อนแอและปัจจุบันนี้ปัญหาโรคไม่ติดต่อได้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของชุมชนจากรายงานโรคไม่ติดต่อเรื้องรังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบางตาลพบว่าพบ ปีงบประมาณ 2561มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน25คน ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 15คน ปีงบประมาณ 2562 มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน30คนผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 12คน และ ปีงบประมาณ 2563มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 33คนผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน9 คนจากรายงานโรคข้างต้นนั้นทำให้ทราบได้ว่า มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น ทุกปีตั้งแต่ปี 2561 ถึง ปีปัจจุบันซึ่งถือเป็นปัญหาสุขภาพของชาวเกาะยวนที่ควรได้รับการแก้ไขในขณะนี้โดยปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากประชาชนขาดการออกกำลังกายที่เหมาะสมและการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องอันเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคเรื้อรังดังกล่าวได้ประกอบกับตามนโยบายของผู้บริหารเทศบาลตำบลเกาะนางคำที่มีความมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมสนับสนุนและดำเนินการในด้านสุขภาพให้กับประชาชนในเขตเทศบาลให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดีให้มีความเป็นอยู่อย่างมีความสุขทั้งทางด้านร่างกายจิตใจสังคมอารมณ์และสติปัญญาโดยต้องการให้ประชาชนสามารถดูแลและสร้างภูมิคุ้มกันให้กับสุขภาพตนเองได้ด้วยการออกกำลังกายสร้างสุขภาพเพื่อให้มีสุขภาพพลานามัยดีซึ่งจะเป็นภูมิคุ้มกันโรคได้เป็นอย่างดีอีกทั้งยังสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านเกาะยวน จึงร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเกาะนางคำจัดทำโครงการชาวเกาะยวนชวนขยับกาย ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูง ปี 2563ขึ้นมาโดยเห็นว่าการส่งเสริมและป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโดยการออกกำลังกายและการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง เป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยแก้ปัญหาที่กำลังเกิดขึ้นอยู่ในชุมชนและเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แล้วยังช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง ผ่อนคลายอารมณ์ เสริมสร้างความสามัคคี และที่สำคัญการออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการ เกิดโรคดังกล่าวด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการออกกำลังกายและบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  2. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกายเหมาะสมตามวัยและบริโภคอาหารที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง
  2. ระดมสมองเติมพลังความรู้คู่กาย
  3. ประเมินผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 22
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 33
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 45
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการออกกำลังกายและบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  2. กลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกายเหมาะสมกับวัยรวมถึงการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง
  3. มีกลุ่มแกนนำออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ เรื่องออกกำลังกายและบริโภคอาหาร โดยการซักถามจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมพบว่า กลุ่มเป้าหมายสามารถตอบคำถามได้
  2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกายเหมาะสมตามวัย จำนวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 85
  3. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีแกนนำออกกำลังกายในชุมชน และมีการรวมกลุ่มเพื่อจัดตั้งชมรมชาวเกาะยวน ชวนขยับกาย เกิดขึ้น ที่โรงเรียนวัดแหลมดินสอ
  4. จากการสอบถามผู้เข้าร่วมโครงการพบว่า มีความพึงพอใจในการจัดโครงการในครั้งนี้ มีความพอใจมาก

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการออกกำลังกายและบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการออกกำลังกายและบริโภคอาหาร มากกว่า 80 คน
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกายเหมาะสมตามวัยและบริโภคอาหารที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกายเหมาะสมตามวัยและบริโภคอาหารที่ถูกต้อง มากกว่า 80 คน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 22
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 33
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 45
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการออกกำลังกายและบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกายเหมาะสมตามวัยและบริโภคอาหารที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง (2) ระดมสมองเติมพลังความรู้คู่กาย (3) ประเมินผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ชาวเกาะยวนชวนขยับกาย ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูงปี 2563 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3333-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกฤติยาภรณ์ สีมัสมิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด