กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการฮาลาเกาะฮ์เพื่อสุขภาพสตรีตันหยง ปี 2 ”
ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางไอเซ๊าะ อาบู




ชื่อโครงการ โครงการฮาลาเกาะฮ์เพื่อสุขภาพสตรีตันหยง ปี 2

ที่อยู่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3020-05-04 เลขที่ข้อตกลง 6/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฮาลาเกาะฮ์เพื่อสุขภาพสตรีตันหยง ปี 2 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฮาลาเกาะฮ์เพื่อสุขภาพสตรีตันหยง ปี 2



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฮาลาเกาะฮ์เพื่อสุขภาพสตรีตันหยง ปี 2 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3020-05-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการดำเนินงานตามโครงการฮาลาเกาะฮ์เพื่อสุขภาพสตรีตันหยง ในปีงบประมาณ 2562 พบว่ากลุ่มแม่บ้านมีความสนใจที่จะเข้าร่วมกิจกรรมเป็นอย่างดี โดยจากการดำเนินงานพบว่ามีประชาชนกลุ่มแม่บ้านสมัครเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 70 คน จากการอบรมให้ความรู้ โดยมีผู้นำสตรีมาเป็นวิทยากรสอนอ่านอัลกุรอ่าน และหลักการทางศาสนา การเพิ่มเติมความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องกับหลักการทางศาสนา การนำหลักการทางศาสนามาเป็นทางนำในการดูแลสุขภาพ เช่น การคลายเครียดโดยการอ่านอัลกุรอ่าน การล้างมือ การดูแลความสะอาด ตามหลักศรัทธา การเลือกอาหารเพื่อการบริโภคในครัวเรือน การออกกำลังกาย เป็นต้น ซึ่งจากการดำเนินงานโดย พบว่า ประชาชนกลุ่มแม่บ้านมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ มีการซักถามเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพและการปฏิบัติตัว และมีความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างดีทุกครั้งที่มีการรวมกลุ่มเพื่อเรียนศาสนาในพื้นที่จะมีการรวมกลุ่มพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัว มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน มีการแลกเปลี่ยนกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยตนเองที่บ้านตามแบบอย่างภาพประกอบการออกกำลังกาย และการพบปะแต่ละครั้งในแต่ละเดือนนั้นมีการวัดความดันโลหิต การเจาะน้ำตาลในเลือด การชั่งน้ำหนักวัดรอบเอว เพื่อประเมินภาวะสุขภาพโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) ที่ดูแลผู้เข้าร่วมโครงการแต่ละราย และผู้ร่วมกิจกรรมจะได้รับการติดตามกระตุ้นเตือนการออกกำลังกายที่บ้าน โดย อสม. ที่รับผิดชอบกลุ่มแม่บ้านแต่ละรายซึ่งจากการติดตามพบว่ากลุ่มแม่บ้านทุกคนได้รับการติดตามโดย อสม.ทุกเดือน เป็นเวลาติดต่อกัน 4 ครั้ง ห่างกัน 2 สัปดาห์ต่อครั้ง ซึ่งจากการติดตามพบว่า กลุ่มแม่บ้านมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ จำนวน 61 คน คิดเป็นร้อยละ 87.14
จากการดำเนินงานโครงการฮาลาเกาะห์เพื่อสุขภาพสตรีตันหยง ในปีที่ผ่านมาพบว่าประชาชนกลุ่มแม่บ้านมีการรวมกลุ่มเพื่อเรียนศาสนาในพื้นที่ โดยมีผู้นำสตรีมาเป็นวิทยากรสอนอ่านอัลกุรอ่าน และสอนหลักการทางศาสนา ซึ่งเป้นโอกาสดีที่จะมีเพิ่มเติมความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องกับหลักศาสนาและมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มสตรีมุสลิมด้วยกัน ในประเด็นต่างๆ ที่อาจส่งผลต่อภาวะสุขภาพของสตรีกลุ่มแม่บ้านเองและของสมาชิกในครอบครัว เช่น การเลือกอาหารเพื่อการบริโภคในครัวเรือน การออกกำลังกายการจัดการอารมณ์ พิษภัยจากบุหรี่ คณะกรรมการ อสม.ร่วมกับกลุ่มแกนนำสตรี หมู่ที่ 3 บ้านตันหยง จึงได้จัดทำโครงการฮาลาเกาะฮ์เพื่อสุขภาพสตรีตันหยง ปี 2 เพื่อเป็นการต่อยอดการดำเนินให้มีความต่อเนื่องเพื่อส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดการรวมกลุ่มของประชาชนกลุ่มแม่บ้านมีการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
2.ประชาชนกลุ่มแม่บ้านมุสลิมมีการออกกำลังกายที่สอดคล้องกับวิถีการดำเนินชีวิต
3.ประชาชนกลุ่มแม่บ้านมีสุขภาพดี สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต/น้ำตาลในเลือดได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. รณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้

วันที่ 8 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่และสมาชิกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบ้าน ให้ทราบถึงโครงการและปรึกษาและวางรูปแบบกิจกรรม
2.จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์โครงการ
3.ดำเนินงานตามโครงการ
  -ประชุม อสม.เพื่อฟื้นฟูความรู้ การแปลผลค่าความดันโลหิต ค่าน้ำตาลในเลือดและการติดตามการให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่บ้าน ระยะเวลา 1 วัน
  -รับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการเพิ่มเติม (มีการประชาสัมพันธ์ชักชวนแล้ว)
  -ติดต่อประสาานงาน จนท.รพสต.ม่วงเตี้ย เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ด้านวิชาการแก่วิทยากรผู้นำสตรีและวิทยากรในการอบรมฟื้นฟูความรู้ของแกนนำการออกกำลังกายโดยวิธียืดเหยียดยางยืด การตรวจคัดกรองการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของสมาชิก
  -จัดกิจกรรมฮาลาเกาะฮ์ เรียนรู้ การดูแลสุขภาพที่สอดคล้องกับหลักศาสนา สัปดาห์ละครั้ง
  -จัดการอบรมแกนนำสตรีในการออกกำลังกายโดยวิธียืดเหยียด และยางยืด การตรวจคัดกรองการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของสมาชิก
  -การถ่ายทอดท่าทางการออกกำลังกายแก่สมาชิก เพื่อให้สมาชิกทบทวน และสามารถนำไปออกกำลังกายที่บ้านได้ด้วยตนเอง
  -การติดตามเยี่ยมบ้านให้คำแนะนำโดย อสม.เดือนละครั้ง
  -แกนนำร่วมออกกำลังกายด้วยวิธียืดเหยียด ยางยืด ก่อนหรือหลังการเรียนศาสนา สัปดาห์ละครั้ง
  -ร่วมออกกำลังกายและตรวจสุขภาพเดือนละ 1 ครั้ง เป็นเวลาติดต่อกัน 6 เดือน
4.การประเมินผลจากจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการและความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
5.การประเมินความรู้ การปฏิบัติตัวเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ โดย อสม. และเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ม่วงเตี้ย
6.ประเมินสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมินดัชนีมวลกาย ตรวจความดันโลหิต การตรวจน้ำตาลจากปลายนิ้ว ของผู้เข้าร่วมโครงการเปรียบเทียบก่อนและหลังร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดการรวมกลุ่มของประชาชนกลุ่มแม่บ้านมีการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
2.ประชาชนกลุ่มแม่บ้านมุสลิมมีการออกกำลังกายที่สอดคล้องกับวิถีการดำเนินชีวิต
3.ประชาชนกลุ่มแม่บ้านมีสุขภาพดี สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต/น้ำตาลในเลือดได้

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฮาลาเกาะฮ์เพื่อสุขภาพสตรีตันหยง ปี 2 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3020-05-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางไอเซ๊าะ อาบู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด