กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ


“ โครงการเฝ้าระวังโรคเท้าช้างในพื้นที่ ”

ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนูรือมา มะแซ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังโรคเท้าช้างในพื้นที่

ที่อยู่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังโรคเท้าช้างในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังโรคเท้าช้างในพื้นที่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังโรคเท้าช้างในพื้นที่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,820.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเท้าช้าง (Lymphatic filariasis หรือ Elephantiasis)เป็นโรคที่เกิดจากหนอนพยาธิตัวกลม (Roundworm)ติดต่อโดยทีโดยแมลงเป็นพาหะ คือ ยุง ในประเทศไทยพบพยาธิโรคเท้าช้าง ๒ ชนิด ได้แก่เชื้อWuchereriabancroftiทำให้เกิดอาการบวมโตของอวัยวะสืบพันธุ์และแขนขา พาหะหลัก คือ ยุงลายป่า(Aedesnevius) พบในจังหวัดชายแดนไทย – พม่า ในจังหวัดตากแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลําพูน กาญจนบุรี ราชบุรี ระนอง และ เชื้อBrugiamalayiทำให้เกิดอาการแขนขาโตมีพาหะหลักคือ ยุงเสือ(Mansoniabonnea)พบทางภาคใต้ของประเทศในจังหวัดสุราษฎร์ธานีนครศรีธรรมราช กระบี่ และนราธิวาส สำหรับจังหวัดนราธิวาสโรคเท้าช้างถือเป็นโรคประจำถิ่น มีอัตราความชุกของโรคสูงที่สุดในประเทศไทย และเป็นจังหวัดเดียวที่ยังคงตรวจพบเชื้อพยาธิไมโครฟิลาเรียอยู่ ถึงแม้ว่าองค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้ประเทศไทยประสบผลสำเร็จในการกำจัดโรคเท้าช้างไปแล้วในเดือนกันยายน ปี 2560 ก็ตาม แต่เนื่องจาก อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส มีแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นพาหะขนาดใหญ่อยู่ และประชากรที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้น มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการถูกยุงกัดตลอดเวลา จึงมีโอกาสรับเชื้อพยาธิโรคเท้าช้างได้สูงมากกว่าพื้นที่อื่น จากการดำเนินงานเฝ้าระวังการกลับมาระบาดซ้ำของโรคเท้าช้าง โดยการให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในพื้นที่ เข้าดำเนินการเจาะเลือดค้นหา ผู้ติดเชื้อพยาธิโรคเท้าช้างด้วยการใช้ชุดตรวจแบบเร็วสำเร็จรูป และทำฟิล์มเลือดหนา ในเขตรับผิดชอบของตนเอง ทำให้มีความครอบคลุมโดยในปี 2562 สามารถตรวจพบผู้ติดเชื้อพยาธิโรคเท้าช้างในตำบลปูโยะจำนวน 5ราย ทำให้ประชาชนได้รับการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคเท้าช้างได้อย่างทันเวลา ก่อนนำไปสู่ความพิการในอนาคตซึ่งถ้าคนในชุมชนไม่ป่วยเป็นโรคเท้าช้าง และไม่เกิดความพิการ ก็จะทำให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีและความเป็นอยู่ที่ดีรายได้เศรษฐกิจก็จะดีตามมาค่าใช้จ่ายในระบบบริการสาธารณสุขก็จะ ลดลง สำหรับสถานการณ์โรคเท้าช้างในตำบลปูโยะมีผู้ป่วยที่ตรวจพบไมโครฟิลาเรีย จำนวน 9 ราย กระจายอยู่ในหมู่ที่ 3 บ้านโต๊ะเวาะ จำนวน 4 ราย และหมู่ที่ 4 จำนวน 5 ราย การดำเนินการป้องกันการแพร่เชื้อ มีมาตรการที่สำคัญ คือ ๑) การรักษากลุ่มประชากรเพื่อลดการแพร่ระบาดของโรค ๒) การรักษาเฉพาะรายโดยการติดตามจ่ายและเจาะโลหิตซ้ำในผู้ป่วยที่มีเชื้อในกระแสเลือด ทุก 6 เดือน เป็นเวลา 2 ปี และการติดตามดูแลผู้ป่วยที่ปรากฏอาการอวัยวะบวมโต ๓) การให้สุขศึกษา – ประชาสัมพันธ์ และการส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโรคเท้าช้างอย่างถูกต้อง เพื่อทำให้เกิดความร่วมมือในการรักษา และมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้องต่อไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปูโยะ ได้ดำเนินการจ่ายยารักษากลุ่มตามโครงการกำจัดโรคเท้าช้างของกระทรวงสาธารณสุขตั้งแต่ปี ๒๕๔๕-๒๕55และยังอยู่ในช่วงเฝ้าระวังหลังหยุดการจ่ายยารักษากลุ่มโรคเท้าช้างเพื่อตอบสนองนโยบายของจังหวัดนราธิวาส โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปูโยะจึงได้จัดโครงการเฝ้าระวังโรคเท้าช้างในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเท้าช้างรายใหม่ได้รับการรักษาและติดตามเจาะเลือดซ้ำทุกราย
  2. เพื่อลดพยาธิสภาพของผู้ป่วยที่ปรากฏอาการให้น้อยลง และได้รับการดูแลที่ถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่คณะทำงาน
  2. กิจกรรมติดตามเจาะเลือดตรวจเชื้อโรคเท้าช้างและจ่ายยาป้องกันโรคเท้าช้าง
  3. กิจกรรมดำเนินงานติดตามเจาะเลือดฯเชิงรุกในหมู่ที่ 2
  4. กิจกรรมดำเนินงานติดตามเจาะเลือดฯ ในหมู่ที่ 6

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนให้ความร่วมมือในการป้องกันและควบคุมโรคเท้าช้าง และสามารถป้องกันตนเองจากสภาพแวดล้อมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
  2. อัตราการพบเชื้อในกระแสเลือดรายใหม่ลดลง
  3. ผู้ป่วยที่มีเชื้อในกระแสเลือดได้รับการติดตามรักษาและเจาะโลหิตซ้ำทุกรายเพื่อลดพยาธิสภาพที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
  4. ผู้ป่วยที่ปรากฏอาการอวัยวะบวมโตได้รับการจัดการดูแลเพื่อไม่ให้มีความทุกข์จากภาวะของโรค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่คณะทำงาน

วันที่ 18 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

วางแผนในการลงพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อทำงานให้มีประสิทธิภาพ

 

34 0

2. กิจกรรมดำเนินงานติดตามเจาะเลือดฯ ในหมู่ที่ 6

วันที่ 20 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เจาะเลือดลงพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อทราบจำนวนคนที่ติดเชื้อ

 

10 0

3. กิจกรรมดำเนินงานติดตามเจาะเลือดฯเชิงรุกในหมู่ที่ 2

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่เจาะเลือด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้ทราบจำนวนคนมีเชื้อ

 

24 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเท้าช้างรายใหม่ได้รับการรักษาและติดตามเจาะเลือดซ้ำทุกราย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการพบแอนติเจน/ไมโครฟิลาเรีย ไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด
0.00

 

2 เพื่อลดพยาธิสภาพของผู้ป่วยที่ปรากฏอาการให้น้อยลง และได้รับการดูแลที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยโรคเท้าช้างรายใหม่ได้รับการรักษาและติดตามเจาะเลือดซ้ำทุกราย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเท้าช้างรายใหม่ได้รับการรักษาและติดตามเจาะเลือดซ้ำทุกราย (2) เพื่อลดพยาธิสภาพของผู้ป่วยที่ปรากฏอาการให้น้อยลง และได้รับการดูแลที่ถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่คณะทำงาน (2) กิจกรรมติดตามเจาะเลือดตรวจเชื้อโรคเท้าช้างและจ่ายยาป้องกันโรคเท้าช้าง (3) กิจกรรมดำเนินงานติดตามเจาะเลือดฯเชิงรุกในหมู่ที่ 2 (4) กิจกรรมดำเนินงานติดตามเจาะเลือดฯ  ในหมู่ที่ 6

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังโรคเท้าช้างในพื้นที่ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนูรือมา มะแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด