กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส ต้านโรคเอ็นซีดีด้วย MI(Motivational Interviewing) (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ เลิกยาสูบ เลิกสุรา) ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน โรงพยาบาลสตูล

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส ต้านโรคเอ็นซีดีด้วย MI(Motivational Interviewing) (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ เลิกยาสูบ เลิกสุรา) ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน โรงพยาบาลสตูล
รหัสโครงการ 63-L8008-01-11
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
วันที่อนุมัติ 28 มกราคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2563 -
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 25,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวพัฒนาวดี หลีนิ่ง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ , แผนงานสุรา , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 158 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3 อ. 2 ส.

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 100 25,100.00 0 0.00
24 ก.พ. 63 จกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะแทรกซ้อนของโรค และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยรายใหม่ในชุมชน 50 15,600.00 -
24 ก.พ. 63 กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฎิบัติการติดตาม/ประเมินผล และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงทุก 3 เดือนและ 6 เดือน ค้นหาบุคคลต้นแบบและกลุ่มป่วยรายใหม่ เข้าสู่การรักษาต่อไ 50 9,500.00 -

3.1สื่อสารรายละเอียดโครงการและให้ความรู้โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ให้กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยต่อโรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูงในเขตพื้นที่และเชิญชวนเข้าร่วมโครงการโดยมีการยืนยันเจตจำนงหรือข้อตกลงในการเข้าร่วมโครงการ 3.2 ให้คำปรึกษา/สนทนาสร้างแรงจูงใจ วิธี Motivational Interviewing ด้วยการให้คำแนะนำแบบสั้น แก่กลุ่มเป้าหมายตามปัญหาปัจจัยเสี่ยงของแต่ละคน เพื่อให้เกิดการปฏิบัติตามมาตรการ 3 อ 2 ส โดย 3.2.1 ให้คำแนะนำแบบสั้น 1 ครั้งต่อเดือน เวลา 5-10 นาทีต่อครั้ง ภายในระยะเวลา 3 เดือน รวมอย่างน้อย 3 ครั้ง
3.2.2 ติดตามผลตามกำหนดนัด 2 ครั้ง ทุก 3 เดือน พร้อมทบทวนความรู้และการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมรวมเป็นระยะเวลาประมาณ 6 เดือน 3.3 ออกไปบริการเชิงรุกในชุมชน หรือที่บ้านตามที่นัดหมายและกลุ่มเป้าหมายสะดวก หรือให้คำแนะนำทางโทรศัพท์ บางกรณีที่จำเป็นอาจนัดมารับบริการที่หน่วยบริการ
3.4 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการพร้อมแบบรายงานหรือบัญชีรายชื่อผู้ที่เข้าร่วมโครงการ และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามมาตรการ 3 อ 2 ส (ตามภาคผนวก) ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มเสี่ยงกลุ่มสงสัยป่วยที่สามารถปฏิบัติตนตามหลัก 3 อ. 2 ส.

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ก.พ. 2563 13:54 น.